แนวทางเฝ้าระวังโรคติดต่อ - ยกระดับมาตรการควบคุมการแพร่ระบาด

          นายสุขสันต์ กิตติศุภกร ผู้อำนวยการสำนักการแพทย์ (สนพ.) กทม. กล่าวว่า ตามที่สื่อมวลชนเสนอข่าวโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังในปี โรคติดต่อ56โรงพยาบาล ระบุประเทศไทยยังจำเป็นต้องเฝ้าระวังโรคใน โรงพยาบาล กลุ่ม คือ กลุ่มที่ สำนักการแพทย์ โรคติดต่ออันตราย กลุ่มที่ โรคติดต่อ โรคติดต่อที่มีอยู่แล้วในพื้นที่ และกลุ่มที่ โรงพยาบาล โรคจากเชื้อไวรัสไม่ทราบชื่อที่เสี่ยงจะเกิดการติดต่อจากสัตว์สู่คน นั้น ที่ผ่านมาสนพ. ได้ติดตามสถานการณ์โรคติดต่อและภัยสุขภาพในกลุ่มโรคทั้งสามกลุ่มจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และกำชับโรงพยาบาลในสังกัดทุกแห่งรายงานผู้ป่วยโรคติดต่อทั้ง โรงพยาบาล กลุ่ม มายังสำนักงานพัฒนาระบบบริการทางการแพทย์ เพื่อประเมินสถานการณ์ และประกาศแจ้งเตือนไปยังโรงพยาบาลในสังกัดเพื่อเตรียมความพร้อมยกระดับมาตรการเฝ้าระวังโรคและควบคุมการแพร่ระบาด ขณะเดียวกันได้จัดกิจกรรมให้ความรู้การป้องกันตนเองจากโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังแก่ประชาชนที่มารับบริการและประชาชนในพื้นที่โดยรอบโรงพยาบาล ตลอดจนจัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ออนไลน์ ผ่าน Facebook Fanpage สำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร เพื่อให้ความรู้เรื่องโรคติดต่อ นอกจากนี้ ได้เปิดบริการ "สายด่วนสุขภาพสำนักการแพทย์" โทร. สำนักการแพทย์646 ให้บริการตลอด โรคติดต่อ4 ชั่วโมง เพื่อให้คำปรึกษาสุขภาพ
          นายชวินทร์ ศิรินาค ผู้อำนวยการสำนักอนามัย (สนอ.) กทม. กล่าวว่า สนอ. มีแนวทางการเฝ้าระวังโรคในแต่ละกลุ่ม ดังนี้ กลุ่มที่ 1 โรคติดต่ออันตราย ตามพระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) โรคติดต่อ พ.ศ.2558 โดยติดตามสถานการณ์ของโรคทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ เพื่อวิเคราะห์สถานการณ์ ประเมินความเสี่ยง และจัดระดับความรุนแรงของสถานการณ์ จากนั้นจะนำข้อมูลรายงานผู้บริหาร กทม. เพื่อพิจารณาเปิดศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน Emergency Operation Center รวมทั้งจัดทำหนังสือแจ้งเตือนหน่วยงานและเครือข่าย ขณะเดียวกันจะดำเนินการเฝ้าระวังและควบคุมโรคตาม พ.ร.บ.โรคติดต่อ พ.ศ.2558 หมวด 5 การเฝ้าระวังโรคติดต่อ และหมวด 6 การป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ สำหรับกลุ่มที่ 2 โรคติดต่อที่มีอยู่แล้วในพื้นที่ จะดำเนินการเฝ้าระวังตามระบบรายงาน 506 มีการวิเคราะห์สถานการณ์ ประเมินความเสี่ยง จัดระดับความรุนแรงของสถานการณ์ และทำหนังสือแจ้งเตือนหน่วยงานและเครือข่าย พร้อมทั้งรายงานให้ผู้บริหารกทม. ทราบ เพื่อพิจารณาเปิดศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉิน และกลุ่มที่ 3 โรคติดต่อจากสัตว์สู่คน (เชื้อไวรัส 600 ชนิดที่ไม่ทราบชื่อ) มีการประสานงานหน่วยงานข้อมูลการติดเชื้อจากสัตว์สู่คน ติดตามวิเคราะห์สถานการณ์ ประเมินความเสี่ยง และจัดระดับความรุนแรงของสถานการณ์ก่อนทำหนังสือแจ้งเตือนไปยังหน่วยงานและเครือข่าย รวมถึงรายงานผู้บริหาร กทม. เพื่อพิจารณาเปิดศูนย์ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินต่อไป
 

ข่าวสุขสันต์ กิตติศุภกร+สำนักการแพทย์วันนี้

เอ็ม บี เค เซ็นเตอร์ ร่วมกับ โรงพยาบาลกลาง เปิดหน่วยบริการฉีดวัคซีนโควิด-19 เข็มกระตุ้น

ศูนย์การค้าเอ็ม บี เค เซ็นเตอร์ สนับสนุนพื้นที่ให้ โรงพยาบาลกลาง สำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร เปิดหน่วยบริการฉีดวัคซีนโควิด-19 เข็มกระตุ้น โมเดอร์นา ชนิดไบวาเลนต์ (Moderna Bivalent) ให้กับคนไทยที่มีอายุ 12 ปีขึ้นไป ชาวต่างชาติ และ ต่างด้าว โดย นายสมพล ตรีภพนารถ (ที่ 3 จากซ้าย) ประธานเจ้าหน้าที่บริหารธุรกิจศูนย์การค้า บริษัท เอ็ม บี เค จำกัด (มหาชน) ให้การต้อนรับ ผศ.ดร.ทวิดา กมลเวชช (ที่ 4 จากซ้าย) รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร นพ.สุขสันต์ กิตติศุภกร (ที่ 2 จากซ้าย) รองปลัดกรุงเทพมหานคร ดร.พญ

นายสุขสันต์ กิตติศุภกร ผู้อำนวยการสำนักกา... กทม.เปิดศูนย์ปฏิบัติการควบคุมโรคอุบัติใหม่ พร้อมติดตามสถานการณ์โควิด 19 สายพันธุ์ XBB ใกล้ชิด — นายสุขสันต์ กิตติศุภกร ผู้อำนวยการสำนักการแพทย์ กทม. กล่าว...

นายสุขสันต์ กิตติศุภกร ผู้อำนวยการสำนักกา... กทม.เน้นย้ำกลุ่มเสี่ยงเข้ารับวัคซีนไข้หวัดใหญ่ ช่วยลดความรุนแรงของโรค — นายสุขสันต์ กิตติศุภกร ผู้อำนวยการสำนักการแพทย์ กทม. กล่าวกรณีแพทย์เฉพาะทางด้านโรค...

รพ.กทม.เตรียมพร้อมมาตรการป้องกันควบคุมโรคฝีดาษลิง - เฝ้าระวังการแพร่ระบาดในสวนสัตว์อย่างใกล้ชิด

นายสุขสันต์ กิตติศุภกร ผู้อำนวยการสำนักการแพทย์ กทม. กล่าวถึงการเตรียมความพร้อมมาตรการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคฝีดาษลิงของสถานพยาบาลในสังกัด กทม. หลังคณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติเห็นชอบกำหนดให้...

นายแพทย์กำพล พลัสสินทร์ (แถวยืนที่ 2 จากข... โรงพยาบาลจุฬารัตน์ ร่วมแสดงความยินดีครบรอบ 20 ปี โรงพยาบาลสิรินธร — นายแพทย์กำพล พลัสสินทร์ (แถวยืนที่ 2 จากขวา) ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท โรงพยาบาลจ...

กทม.ยกระดับมาตรการควบคุมโควิด-19 ในกรุงเทพฯ

นายสุขสันต์ กิตติศุภกร ผู้อำนวยการสำนักการแพทย์ กทม. กล่าวถึงการยกระดับมาตรการควบคุมการแพร่ระบาดโควิด-19 ในพื้นที่กรุงเทพฯ ว่า กรุงเทพมหานครได้เร่งรัดให้บริการตรวจหาเชื้อโควิด-19 ด้วยการเพิ่มจุดตรวจคัดกรอง เพื่อแยกผู้ป่วยออกจากชุมชน ปรับแผนการกระจายวัคซีน...

บริษัท เชฟรอนประเทศไทยสำรวจและผลิต จำกัด ... เชฟรอนสนับสนุนการปฏิบัติภารกิจของกทม. กระจายวัคซีนฝ่าวิกฤตโควิด-19 — บริษัท เชฟรอนประเทศไทยสำรวจและผลิต จำกัด ร่วมสนับสนุนสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร ในภา...

นายสุขสันต์ กิตติศุภกร ผู้อำนวยการสำนักกา... เคร่งครัดมาตรการดูแลผู้ป่วยโควิด-19 ระหว่างพักรักษาตัวในโรงพยาบาลสนามของ กทม. — นายสุขสันต์ กิตติศุภกร ผู้อำนวยการสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร (กทม.) กล่าว...