หากท่านคิดว่าเลสิค อาจเป็นทางเลือกหนึ่งในการลดการพึ่งพาแว่นสายตา หรือคอนแทคเลนส์ของท่าน TRSC ขอแนะนำให้ท่านเข้ารับการตรวจประเมินสภาพตาโดยละเอียดเพื่อรักษาเลสิค
ซึ่งมีความสำคัญ สองประการ คือ ประการแรก เพื่อพิจารณาว่าท่านเป็นผู้มีคุณสมบัติเหมาะสมกับการรักษาเลสิค หรือไม่ ประการที่สอง เพื่อพิจารณาว่าดวงตาของท่านมีสุขภาพตาสมบูรณ์ มีโรคใดๆ หรือไม่
ทั้งนี้ก่อนทำการรักษาเลสิค สำหรับท่านที่ใส่คอนแทนเลนส์ ควรงดใส่คอนแทคเลนส์อย่างน้อย 3 วันก่อนตรวจ สำหรับท่านที่ใส่คอนแทคเลนส์ชนิดแข็ง (Hard Lens) หรือชนิดกึ่งแข็งกึ่งนิ่ม (Semi Hard Lens) ควรงดใส่คอนแทคเลนส์อย่างน้อย 14 วันก่อนตรวจ ทั้งนี้ คนไข้สามารถใช้แว่นสายตาแทนในระหว่างที่ไม่ได้ใส่คอนแทคเลนส์ รายละเอียดการเตรียมตัวก่อนผ่าตัดเลสิคหน้าแรก/ประเภทการตรวจและการรักษา /ประเภทการผ่าตัด /LASIK เลสิค รักษาสายตาสั้น สายตายาว สายตาเอียงเลสิค มีประวัติความเป็นมาเริ่มตั้งแต่ปี ค.ศ. 1949 Dr. Barraquer เป็นผู้แรกที่คิดค้นเครื่องมือแยกชั้นกระจกตาเพื่อรักษาภาวะสายตาสั้น และสายตายาว
โดยการทำผ่าตัดแยกชั้นกระจกตา นำชั้นกระจกตาที่แยกได้ไปฝน แล้วนำมาเย็บกลับเข้าที่เดิม เป็นการผ่าตัดที่เรียกว่า Keratomileusis ซึ่งในขณะนั้น
เครื่องมือมีความซับซ้อนมาก ผลการรักษาก็ยังไม่แม่นยำเท่าที่ควร สำหรับในประเทศไทย ทีมจักษุแพทย์ของ TRSC International LASIK Center เป็นกลุ่มผู้บุกเบิกการผ่าตัดด้วยวิธีเลสิค ในประเทศไทย
นำโดย นายแพทย์ เอกเทศ ชันซื่อ ซึ่งเป็นจักษุแพทย์ไทยคนแรกที่ทำการรักษาด้วยวิธีเลสิค เริ่มทำการรักษาวิธีเลสิคครั้งแรกที่โรงพยาบาลรามาธิบดี ในปี พ.ศ. 2537
เลสิค เป็นวิธีการผ่าตัดรักษาภาวะสายตาสั้น สายตายาวโดยกำเนิดและสายตาเอียง เลสิค เป็นวิธีการผ่าตัดรักษาภาวะสายตาสั้น สายตายาวโดยกำเนิดและสายตาเอียง เลสิค เป็นวิธีการผ่าตัดรักษาภาวะสายตาสั้น สายตายาวโดยกำเนิดและสายตาเอียง เลสิค เป็นวิธีการผ่าตัดรักษาภาวะสายตาสั้น สายตายาวโดยกำเนิดและสายตาเอียง แยกชั้นกระจกตา เปิดกระจกตาค้างไว้ เลเซอร์ปรับเปลี่ยน
ความโค้งกระจกตา ปิดกระจกตากลับ เข้าที่เดิม
เลสิค เป็นวิธีการผ่าตัดรักษาภาวะสายตาผิดปกติ (สายตาสั้น สายตายาวโดยกำเนิด สายตาเอียง และสายตายาวตามอายุ) แบบถาวร โดยใช้ เครื่องแยกชั้นกระจกตา Microkeratome
แยกชั้นกระจกตาให้มีความหนาประมาณ 1 ใน 3 ของความหนาของกระจกตาทั้งหมดแล้วใช้ Excimer Laser ขัดเนื้อกระจกตาชั้นกลาง เพื่อเปลี่ยนความโค้งของกระจกตาโดยรวมแล้วจึงปิดผิวกระจกตาเข้าที่เดิม
การเตรียมตัวก่อนมารับการรักษาเลสิค
หากท่านคิดว่าเลสิค อาจเป็นทางเลือกหนึ่งในการลดการพึ่งพาแว่นสายตา หรือคอนแทคเลนส์ของท่าน TRSC ขอแนะนำให้ท่านเข้ารับการตรวจประเมินสภาพตาโดยละเอียดเพื่อรักษาเลสิค
ซึ่งมีความสำคัญ สองประการ คือ ประการแรก เพื่อพิจารณาว่าท่านเป็นผู้มีคุณสมบัติเหมาะสมกับการรักษาเลสิค หรือไม่ ประการที่สอง เพื่อพิจารณาว่าดวงตาของท่านมีสุขภาพตาสมบูรณ์ มีโรคใดๆ หรือไม่
ทั้งนี้ก่อนทำการรักษาเลสิค สำหรับท่านที่ใส่คอนแทนเลนส์ ควรงดใส่คอนแทคเลนส์อย่างน้อย 3 วันก่อนตรวจ สำหรับท่านที่ใส่คอนแทคเลนส์ชนิดแข็ง (Hard Lens) หรือชนิดกึ่งแข็งกึ่งนิ่ม (Semi Hard Lens) ควรงดใส่คอนแทคเลนส์อย่างน้อย 14 วันก่อนตรวจ ทั้งนี้ คนไข้สามารถใช้แว่นสายตาแทนในระหว่างที่ไม่ได้ใส่คอนแทคเลนส์ รายละเอียดการเตรียมตัวก่อนผ่าตัดเลสิค
ข้อดีของการรักษาด้วยวิธี เลสิค
เลสิค เป็นการรักษาภาวะสายตาผิดปกติอย่างถาวร
ใช้เวลาในการผ่าตัดและการพักฟื้นสั้น แผลหายเร็ว
สามารถมองเห็นได้ทันทีหลังการผ่าตัด แต่อาจจะยังไม่คมชัดเต็มที่ในวันแรก
ไม่ต้องฉีดยาชา เพียงแต่ใช้ยาชาหยอดตา และไม่มีการเย็บแผล
กลับบ้านได้ทันทีหลังการผ่าตัด
เลสิคกับการเพิ่มคุณภาพชีวิต
เลสิคเปิดอิสระแห่งการมองเห็น ลดการพึ่งพาแว่นและคอนแทคเลนส์
เลสิคเพิ่มโอกาสในการประกอบอาชีพบางอาชีพ เช่น นักบิน แอร์โฮสเตส ทหาร ตำรวจ เป็นต้น
เลสิคเพิ่มความสะดวกสบายในการดำเนินชีวิต ไม่ต้องกังวลเกี่ยวกับแว่นหรือคอนแทคเลนส์
เลสิคเพิ่มความคล่องตัวในการประกอบกิจกรรม งานอดิเรกหรือกีฬา โดยเฉพาะกีฬา ทางน้ำ และกีฬากลางแจ้ง
เลสิคเสริมสร้างบุคลิกภาพ
ผู้ที่เหมาะสมสำหรับการรักษาด้วยวิธีเลสิค
มีอายุ 18 ปี ขึ้นไป และมีสายตาคงที่อย่างน้อย 1 ปี
ไม่มีโรคของกระจกตา เช่น โรคกระจกตาย้วย ตาแห้งอย่างรุนแรง และโรคตาอย่างอื่น เช่น จอประสาทตาเสื่อม หรือโรคทางร่างกายที่มีผลต่อการหายของแผล เช่น โรค SLE ,
โรค Sjogren's หรือโรคอื่นๆ ที่เกี่ยวกับการขาดภูมิคุ้มกัน
ไม่อยู่ระหว่างตั้งครรภ์ หรือให้นมบุตร
มีความเข้าใจถึงการผ่าตัดด้วยวิธีเลสิคอย่างละเอียด และมีความคาดหวังที่ถูกต้อง
การทำเลสิคราคา ไม่แพงอย่างที่คิด
ขอบคุณข้อมูล
http://www.lasikthai.com/cms.php?ref=do:read/id:74
ติดต่อเราได้ที่ facebook.com/newswit