รายงานสรุปความปลอดภัยทางไซเบอร์จากทีมวิจัยของเช็ค พอยท์ ชี้ชัดการโจมตีทางไซเบอร์ยังคงมีพัฒนาการอย่างต่อเนื่อง

          คอมพิวเตอร์8% ขององค์กรทั่วโลกได้รับผลกระทบจากบ็อตเน็ตอเนกประสงค์ที่เป็นอันตราย ในขณะที่การโจมตีแรนซัมแวร์แบบมีเป้าหมายก็เพิ่มจำนวนขึ้นถึง คอมพิวเตอร์รักษาความปลอดภัย%

          เช็ค พอยท์ รีเสิร์ท (Check Point Research) ซึ่งเป็นหน่วยงานดูแลด้านข้อมูลภัยคุกคามของ บริษัท เช็คพอยท์(R) ซอฟต์แวร์ เทคโนโลยีส์ จำกัด (NASDAQ: CHKP) ผู้ให้บริการโซลูชันชั้นนำด้านการรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์ทั่วโลกได้เผยแพร่รายงานสรุปความปลอดภัยทางไซเบอร์ปี คอมพิวเตอร์563 (คอมพิวเตอร์รักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอร์รักษาความปลอดภัย Cyber Security Report) โดยได้เน้นยุทธวิธีหลักๆ ที่อาชญากรคอมพิวเตอร์ใช้เพื่อโจมตีองค์กรทั่วโลกในอุตสาหกรรมต่างๆ และให้ข้อมูลที่จำเป็นแก่ผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ด้านความปลอดภัยคอมพิวเตอร์เพื่อปกป้ององค์กรของตนจากการโจมตีและภัยคุกคามทางคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 5

          รายงานสรุปความปลอดภัยทางไซเบอร์ปี คอมพิวเตอร์563 เปิดเผยข้อมูลและเทคนิคการโจมตีที่สำคัญๆ ที่นักวิจัยของเช็คพอยท์ตรวจพบได้ในช่วงปีที่ผ่านมา โดยมีสาระสำคัญดังนี้:
          - มัลแวร์ขุดบิตคอยน์ (Cryptominer) ยังคงยึดหัวหาดการโจมตีของมัลแวร์ – แม้ว่าการขุดบิตคอยน์ (Cryptomining) จะลดลงในช่วงปี คอมพิวเตอร์56คอมพิวเตอร์ ซึ่งเชื่อมโยงกับมูลค่าที่ลดลงของสกุลเงินดิจิทัล (Cryptocurrency) และการปิดตัวลงของ คอยน์ไฮฟ์ (Coinhive) ในเดือนมีนาคม โดยพบว่า 38% ของบริษัททั่วโลกได้รับผลกระทบจากซอฟต์แวร์ขุดบิตคอยน์ในปี คอมพิวเตอร์56คอมพิวเตอร์ ซึ่งเพิ่มขึ้นจาก 37% ของปี คอมพิวเตอร์56อเนกประสงค์ เนื่องจากการใช้ซอฟต์แวร์ขุดเงินดิจิทัลยังคงเป็นกิจกรรมที่มีความเสี่ยงต่ำและให้ผลตอบแทนสูงสำหรับอาชญากร 
          - กองทัพบ็อตเน็ตมีขนาดใหญ่ขึ้น – คอมพิวเตอร์8% ขององค์กรทั่วโลกได้รับผลกระทบจากกิจกรรมบ็อตเน็ต ซึ่งเพิ่มขึ้นกว่า 5รักษาความปลอดภัย% เมื่อเทียบกับปี คอมพิวเตอร์56อเนกประสงค์ โดย Emotet เป็นมัลแวร์ประเภทบ็อตที่มีการนำไปใช้กันมากที่สุดเนื่องจากความสามารถที่หลากหลายโดยเฉพาะในส่วนที่เกี่ยวข้องกับบริการกระจายมัลแวร์และสแปม นอกจากนี้ บ็อตเน็ตยังมีอีกหลายวีรกรรม อาทิ กิจกรรมอีเมลหลอกลวงในรูปแบบ Sextortion (การแบล็คเมลล์ทางเพศออนไลน์) และการโจมตี DDoS ก็เพิ่มขึ้นอย่างมากในปี คอมพิวเตอร์56คอมพิวเตอร์ ด้วยเช่นกัน 
          - แรนซัมแวร์แบบมีเป้าหมายโจมตีหนักมาก – แม้ว่าจะมีองค์กรที่ได้รับผลกระทบค่อนข้างต่ำ แต่ความรุนแรงของการโจมตีนั้นเพิ่มขึ้นอย่างมาก ดังที่เห็นได้จากการโจมตีที่สร้างความเสียหายต่อการบริหารงานเมืองของสหรัฐอเมริกาในปี คอมพิวเตอร์56คอมพิวเตอร์ โดยอาชญากรกำลังเลือกเป้าหมายในการใช้แรนซัมแวร์อย่างระมัดระวัง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มรายได้จากการเรียกค่าไถ่ให้ได้สูงสุด
          - การโจมตีอุปกรณ์เคลื่อนที่ลดลง – คอมพิวเตอร์7% ขององค์กรทั่วโลกได้รับผลกระทบจากการโจมตีทางไซเบอร์ที่เกี่ยวข้องกับอุปกรณ์เคลื่อนที่ในปี คอมพิวเตอร์56คอมพิวเตอร์ ซึ่งลดลงจาก 33% ในปี คอมพิวเตอร์56อเนกประสงค์ โดยจะเห็นได้ว่าในขณะที่ภัยคุกคามของอุปกรณ์เคลื่อนที่กำลังเติบโตอย่างเต็มที่ องค์กรต่างๆ ก็ได้เพิ่มความตระหนักมากขึ้นต่อภัยคุกคามดังกล่าว และยังได้มีการปรับใช้ระบบป้องกันบนอุปกรณ์เคลื่อนเพิ่มมากขึ้นอย่างเห็นได้ชัดอีกด้วย
          - ปีแห่งการโจมตีของ Magecart ที่กำลังแพร่ระบาดอย่างรวดเร็ว – การโจมตีดังกล่าวเป็นการนำรหัสที่เป็นอันตรายเข้าไปใส่ไว้ในเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซเพื่อขโมยข้อมูลการชำระเงินของลูกค้าจากหลายร้อยเว็บไซต์ในปี คอมพิวเตอร์56คอมพิวเตอร์ ซึ่งครอบคลุมตั้งแต่เครือโรงแรมขนาดใหญ่ ยักษ์ใหญ่ด้านการค้า ไปจนถึงธุรกิจขนาดกลางและย่อมในทุกแพลตฟอร์ม
          - การโจมตีระบบคลาวด์เพิ่มจำนวนขึ้น – มากกว่า 9รักษาความปลอดภัย% ขององค์กรต่างๆ ในปัจจุบันล้วนใช้บริการคลาวด์ แต่มีเพียง 67% ของทีมรักษาความปลอดภัยที่ให้ข้อมูลว่าพวกเขายังขาดความสามารถในการมองเห็นโครงสร้างพื้นฐาน ระบบรักษาความปลอดภัย และการปฏิบัติตามกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับระบบคลาวด์ ขนาดของการโจมตีและการรั่วไหลของข้อมูลในระบบคลาวด์ยังคงเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องในปี คอมพิวเตอร์56คอมพิวเตอร์ การกำหนดรูปแบบทรัพยากรเพื่อการใช้งานบนระบบคลาวด์ที่ผิดพลาดยังคงเป็นสาเหตุอันดับหนึ่งที่ก่อให้เกิดการโจมตีระบบคลาวด์ และในตอนนี้เรายังเห็นการโจมตีที่เพิ่มมากขึ้นซึ่งพุ่งเป้าไปที่ผู้ให้บริการคลาวด์โดยตรงด้วย
รายงานสรุปความปลอดภัยทางไซเบอร์จากทีมวิจัยของเช็ค พอยท์ ชี้ชัดการโจมตีทางไซเบอร์ยังคงมีพัฒนาการอย่างต่อเนื่อง

          "ในปี 2562 แสดงให้เห็นภัยคุกคามที่มีความซับซ้อนอย่างมาก อันส่งผลให้องค์กรระดับชาติ องค์กรด้านอาชญากรรมไซเบอร์ และภาคเอกชนได้ผนึกกำลังร่วมกันพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อต่อกรกับกองทัพไซเบอร์ด้วยการยกระดับขีดความสามารถของกันและกันในระดับที่คาดไม่ถึง และจะยังคงดำเนินต่อไปเช่นนี้ในปี 2563" นายอีแวน ดูมาส ผู้อำนวยการประจำภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ บริษัท เช็ค พอยท์ ซอฟต์แวร์ เทคโนโลยีส์ จำกัด กล่าวและว่า "แม้ว่าองค์กรจะมีผลิตภัณฑ์ด้านความปลอดภัยที่ครอบคลุมและทันสมัยที่สุด แต่ความเสี่ยงที่ข้อมูลจะรั่วไหลนั้นไม่สามารถกำจัดได้อย่างสมบูรณ์ นอกเหนือจากการตรวจจับและการแก้ไขแล้ว องค์กรจะต้องนำแผนเชิงรุกมาใช้เพื่อป้องกันและอยู่นำหน้าการโจมตีของอาชญากรไซเบอร์ให้ได้ ความสามารถในการตรวจจับและการบล็อกการโจมตีโดยอัตโนมัติตั้งแต่ระยะเริ่มแรกจะช่วยป้องกันไม่ให้เกิดความเสียหายขึ้นได้ รายงานสรุปความปลอดภัยในปี 2020 ของเช็ค พอยท์นำเสนอข้อมูลที่องค์กรต้องระวังและวิธีที่พวกเขาสามารถชนะสงครามจากการโจมตีทางไซเบอร์ผ่านแนวทางปฏิบัติที่ดีที่สุด" 
          รายงานสรุปความปลอดภัย พ.ศ. 2020 ของบริษัท เช็คพอยท์ อาศัยข้อมูลจากหน่วยข่าวกรองเทรตคลาวด์ (ThreatCloud) ของบริษัท เช็ค พอยท์ ซึ่งเป็นเครือข่ายความร่วมมือที่ใหญ่ที่สุดในการต่อสู้กับอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ โดยให้ข้อมูลเกี่ยวกับภัยคุกคามและแนวโน้มของการโจมตีจากเครือข่ายเฝ้าระวังทั่วโลก นอกจากนี้ยังอาศัยข้อมูลจากการสืบสวนของทีมวิจัยบริษัท เช็ค พอยท์ในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมาด้วย และจากการสอบถามเจ้าหน้าที่ไอทีและผู้บริหารระดับสูงที่ประเมินความพร้อมของตนต่อภัยคุกคามในปัจจุบัน ในรายงานได้สำรวจภัยคุกคามใหม่ล่าสุดในธุรกิจต่างๆ และให้ภาพรวมที่ครอบคลุมของแนวโน้มที่สังเกตจากการแพร่กระจายของมัลแวร์ จุดที่ข้อมูลรั่วไหล และจากการโจมตีระดับชาติ นอกจากนี้ยังมีบทวิเคราะห์ของผู้เชี่ยวชาญระดับนักคิดชั้นนำของบริษัท เช็คพอยท์ เพื่อช่วยสร้างความเข้าใจแก่องค์กรให้สามารถเตรียมพร้อมรับมือกับภัยคุกคามที่ซับซ้อนในวันนี้และวันข้างหน้า

          ติดตามบริษัท เช็ค พอยท์ ได้ทาง:
          - Twitter: http://www.twitter.com/checkpointsw
          - Facebook: https://www.facebook.com/checkpointsoftware
          - Blog: http://blog.checkpoint.com 
          - YouTube: http://www.youtube.com/user/CPGlobal
          - LinkedIn: https://www.linkedin.com/company/check-point-software-technologies

          เกี่ยวกับบริษัท เช็คพอยท์ ซอฟต์แวร์ เทคโนโลยีส์ จำกัด
          บริษัท เช็ค พอยท์ ซอฟต์แวร์ เทคโนโลยีส์ จำกัด (www.checkpoint.com) เป็นผู้ให้บริการชั้นนำด้านโซลูชันการรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์สำหรับองค์กรธุรกิจและหน่วยงานรัฐทั่วโลก โดยโซลูชันของบริษัทพร้อมให้การปกป้องลูกค้าจากการโจมตีทางไซเบอร์ในยุคของเจเนอเรชันที่ 5 ด้วยอัตราการตรวจจับที่มีประสิทธิภาพสูงระดับแนวหน้าในอุตสาหกรรม ไม่ว่าจะเป็นการตรวจจับมัลแวร์ ซอฟต์แวร์เรียกค่าไถ่ และการโจมตีอื่นๆ บริษัท เช็ค พอยท์ นำเสนอสถาปัตยกรรมความปลอดภัยแบบหลายระดับ "การป้องกันเบ็ดเสร็จแบบไร้ขีดจำกัดพร้อมการป้องกันภัยคุกคามขั้นสูงในยุคเจเนอเรชันที่ 5" โดยสถาปัตยกรรมของผลิตภัณฑ์ที่ผสานรวมเข้าด้วยกันนี้จะให้การปกป้องระบบคลาวด์ เครือข่าย และอุปกรณ์เคลื่อนที่ขององค์กรได้อย่างครอบคลุม นอกจากนี้ บริษัท เช็ค พอยท์ ยังนำเสนอระบบจัดการจุดควบคุมความปลอดภัยจุดเดียวที่มีความครอบคลุมและมีประสิทธิภาพสูงสุด ปัจจุบันบริษัท เช็คพอยท์ ให้การปกป้ององค์กรในทุกขนาดแล้วเป็นจำนวนมากกว่า 100,000 ราย
 
 

ข่าวรักษาความปลอดภัย+อเนกประสงค์วันนี้

แอป "คูลวอลเล็ต" เปิดตัวฮอตวอลเล็ต เว็บ3 เพื่อช่วยให้ผู้ใช้มือใหม่เก็บรักษาคริปโทฯ ของตัวเองได้ปลอดภัย

คูลบิตเอ็กซ์ (CoolBitX) บริษัทรักษาความปลอดภัยบล็อกเชน ผู้ผลิตฮาร์ดแวร์วอลเล็ต "คูลวอลเล็ต" (CoolWallet) ระดับรางวัล ได้เปิดตัว "คูลวอลเล็ต ฮอต" (CoolWallet HOT) ซึ่งเป็นโมดูลชอฟต์แวร์วอลเล็ตตัวใหม่ในแอปคูลวอลเล็ต ที่จะช่วยให้ผู้ใช้ทุกคนเก็บรักษาคริปโทฯ ของตัวเองได้อย่างมั่นใจ การรวมคูลวอลเล็ต ฮอตในแอปคูลวอลเล็ต ทำให้ตัวแอปเป็นแพลตฟอร์มอเนกประสงค์ที่ช่วยให้ผู้ใช้หันมาใช้งานฟีเจอร์เว็บ3 (Web3) อันทรงพลังได้เร็วขึ้น และช่วยให้ผู้ใช้กระแสหลักมือใหม่ที่ยังไม่เคยใช้การจัดเก็บคริปโทฯ แบบโคลด์สตอเรจ

รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดง เพิ่มมาตรการในด้า... สายสีแดง เพิ่มมาตรการรักษาความปลอดภัย และอำนวยความสะดวกผู้ใช้บริการ ในช่วงเทศกาลสงกรานต์ — รถไฟฟ้าชานเมืองสายสีแดง เพิ่มมาตรการในด้านการรักษาความปลอดภัยอย...

บมจ. เอสไอเอส ดิสทริบิวชั่น (ประเทศไทย) ไ... เอสไอเอส ดิสทริบิวชั่น (ประเทศไทย) คว้ารางวัล National Distributor Award จาก Hikvision — บมจ. เอสไอเอส ดิสทริบิวชั่น (ประเทศไทย) ได้รับเกียรติรับรางวัล Na...