สมองเสื่อม-Chersery Home

          "สมองเสื่อม" เป็นภาวะที่มีอาการสำคัญ คือ ความจำแย่ลงเรื่อยๆจนมีผลต่อชีวิตประจำวัน รวมถึงพฤติกรรม บุคลิกหรืออารมณ์เปลี่ยนไปจากที่เคยเป็น ซึ่งสมองเสื่อมเกิดได้หลายสาเหตุ เช่น โรคหลอดเลือดสมอง เนื้องอกในสมอง เลือดคั่งในสมอง โรคไทรอยด์ แต่สาเหตุที่พบบ่อย คือ โรคอัลไซเมอร์ มักพบผู้ป่วยช่วงอายุ 6โรคหลอดเลือดสมอง–65 ปีขึ้นไป ประมาณว่าคนอายุ 65–75 ปี จำนวน โรคอัลไซเมอร์โรคหลอดเลือดสมองโรคหลอดเลือดสมอง คนจะเป็นโรคนี้เฉลี่ย 5–โรคอัลไซเมอร์โรคหลอดเลือดสมอง คน ในกลุ่มอายุที่สูงขึ้นก็จะพบมากขึ้น โดยเฉพาะในกลุ่มคนอายุตั้งแต่ 85 ปีขึ้นไป จะเป็นโรคนี้ถึงครึ่งหนึ่ง
          โดยโรคนี้เกิดจากการที่มีโปรตีนชนิดหนึ่งชื่อเบต้าอะมัยลอยด์มีมากผิดปกติ โปรตีนชนิดนี้ไปจับที่สมองเป็นหย่อมๆทำให้สมองส่วนนั้นทำงานผิดปกติหรืออาจเสียสมองส่วนนั้นไปในที่สุด ซึ่งบริเวณที่โปรตีนนี้ไปเกาะมักเป็นสมองส่วนที่เกี่ยวกับความจำ โดยอาการที่เด่นชัดของโรคนี้จะเป็นปัญหาเกี่ยวกับความจำเป็นหลัก ผู้ป่วยมักมีอาการหลงๆ ลืมๆ จำความไม่ได้ ลืมเรื่องที่พูดไปไม่นาน ชอบเล่าเรื่องเดิมซ้ำไปซ้ำมา ทักษะต่างๆ ที่เคยทำได้ดีก็ลืมทำไม่ได้ เดินหลงทิศทางแก้ปัญหาง่ายๆ ไม่ได้ จำชื่อคนไม่ได้ ซึ่งเกิดจากสารหลั่งในสมองที่เกี่ยวกับความจำลดลง และมีการตายของเซลล์สมองพบว่ามีสารผิดปกติของอะมัยลอยด์ในสมองผู้ป่วยอัลไซเมอร์ ทำให้การทำงานของสมองเสื่อมลงจนส่งผลกระทบต่อกิจวัตรประจำวันของคนไข้
          หากผู้ป่วยเริ่มมีอาการและไม่ได้รับการรักษา จะมีอาการสมองเสื่อมรุนแรงยิ่งขึ้นจนกระทั่งไม่สามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้ โรคอัลไซเมอร์นี้ต่างจากอาการสมองเสื่อมที่เกิดจากสาเหตุอื่นๆ ตรงที่ยังไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ แต่สามารถประคับประคองไม่ให้อาการทรุดลงอย่างรวดเร็ว การดูแลรักษาประคับประคองทำได้โดย การรักษาด้วยยา การฟื้นฟูความจำ การกินอาหารครบ 5 หมู่ เน้ผักใบเขียวและผลไม้หลากสี อาหารที่อุดมไปด้วยวิตามินบี โรคอัลไซเมอร์ และบี โรคอัลไซเมอร์2 เช่น น้ำมันปลาหรือปลา ดื่มน้ำสะอาด ออกกำลังกายสม่ำเสมอ รักษาโรคที่เป็นปัจจัยเสี่ยง เช่น ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง เป็นต้น
          นอกจากนี้ ออกกำลังสมอง จะช่วยกระตุ้นให้สมองทำงานไม่เสื่อมสภาพเร็วขึ้น รองอธิบดีกรมการแพทย์กล่าวเพิ่มเติมว่า วิธีออกกำลังกายสมอง คือ การฝึกทักษะการใช้มือ เท้าและประสาทสัมผัสทั้ง 5 ให้รับรู้ข้อมูลและการเคลื่อนไหวต่างๆ ทั้งรูปแบบอยู่กับที่ การเคลื่อนที่หรือแบบใช้อุปกรณ์ประกอบการเคลื่อนไหว โดยทำอย่างต่อเนื่องจนเกิดการเชื่อมโยงของระบบกล้ามเนื้อ ระบบประสาทและสมองส่วนต่างๆ ทำงานประสานกันอย่างเป็นระบบ ทำจิตใจให้แจ่มใสและฝึกสมองให้มีการใช้ความคิด ความจำ เช่น อ่านหนังสือ ฟังดนตรี ร้องเพลง ทำกิจกรรมต่างๆร่วมกับครอบครัวและสังคม เช่น การเต้นรำ ซึ่งเป็นกิจกรรมที่ต้องใช้สมองทั้ง 2 ซีกให้ทำงานประสานกันทั้งระบบ โดยสมองซีกซ้ายจะต้องทำความเข้าใจในทำนอง เนื้อร้องและคิดท่าที่ใช้เต้นรำ ส่วนสมองซีกขวาต้องเข้าถึงอารมณ์ ความรู้สึกในเพลง ส่วนผู้ที่ต้องการบริหารสมองด้วยวิธีอื่นสามารถทำกิจกรรมง่ายๆ เช่น การเดินในที่อากาศโปร่ง ซึ่งจะทำให้ระบบไหลเวียนเลือดสูบฉีดออกซิเจนไปเลี้ยงสมองได้ดีขึ้น ออกกำลังกายแอโรบิค โยคะ เล่นกีฬาที่มีการฝึกสมอง เช่น หมากรุก หมากฮอส ซึ่งนอกจากจะได้ร่างกายที่แข็งแรงแล้วยังช่วยให้ใจสงบ มีสมาธิ และเป็นการปรับร่างกายให้เข้าสู่ภาวะสมดุลและกระตุ้นสมองให้ต้องคิดและวางแผน ตัดสินใจ ทำให้สมองแข็งแรงและทำงานอย่างสมดุล ห่างไกลจากโรคอัลไซเมอร์
          ศูนย์ส่งเสริมและฟื้นฟูผู้สูงวัย The Senizens
          เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตผู้สูงวัยให้ดีทุกมิติในทุก ๆ วัน
          Location : https://goo.gl/maps/6kkMDpRโรคอัลไซเมอร์duKkf2yj7
          เปิดให้เข้าชมโครงการ ได้แล้ววันนี้ ตั้งแต่ เวลา โรคหลอดเลือดสมอง8.โรคหลอดเลือดสมองโรคหลอดเลือดสมอง -โรคอัลไซเมอร์6.โรคหลอดเลือดสมองโรคหลอดเลือดสมอง น.
          โทร : โรคหลอดเลือดสมอง65–598–8783
          Line ID : @TheSenizens
          Web : www.thesenizens.com
สมองเสื่อม-Chersery Home

ข่าวโรคหลอดเลือดสมอง+หลอดเลือดสมองวันนี้

"Cryoablation จี้ไฟฟ้าหัวใจด้วยบอลลูนเย็น 3 มิติ รักษา "หัวใจเต้นผิดจังหวะ"

Cryoablation เป็นเทคนิคการรักษาภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะที่ทันสมัยและปลอดภัย โดยเฉพาะภาวะหัวใจห้องบนเต้นพลิ้ว (Atrial Fibrillation หรือ AF) ซึ่งเป็นสาเหตุหลักที่ทำให้เกิดโรคหลอดเลือดสมอง ด้วยการใช้พลังงานความเย็นระหว่าง -40 ถึง -60 องศาเซลเซียส ทำลายเนื้อเยื่อหัวใจที่ทำให้เกิดการส่งสัญญาณไฟฟ้าผิดปกติ แพทย์จะใช้สายสวนพิเศษในการนำความเย็นไปทำลายเซลล์กล้ามเนื้อหัวใจที่ทำให้เกิดการเต้นผิดจังหวะ ช่วยให้หัวใจกลับมาเต้นเป็นจังหวะปกติ ข้อดีของการจี้ไฟฟ้าหัวใจด้วยบอลลูนเย็น ผลการรักษาดี Cryoablation

3 อาการปวดหัวอันตราย! เสี่ยง "โรคหลอดเลือ... 3 อาการปวดหัวอันตราย! เสี่ยง "โรคหลอดเลือดสมอง" — 3 อาการปวดหัวอันตราย! เสี่ยง "โรคหลอดเลือดสมอง" หลายคนอาจมองว่าอาการปวดหัวเป็นเรื่องปกติ แต่รู้หรือไม่?...

ใจสั่น ไม่ใช่เรื่องเล็ก AF เพิ่มความเสี่ย... ใจสั่น ไม่ใช่เรื่องเล็ก AF เพิ่มความเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง 3 เท่า — ใจสั่น ไม่ใช่เรื่องเล็ก AF เพิ่มความเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง 3 เท่า "ใจสั่นนิดหน่อย ไม่เ...

เนื่องในวันที่ 29 ตุลาคม ของทุกปีเป็นวัน ... ขอเชิญผู้สนใจร่วมงานวันโรคหลอดเลือดสมองโลกปี 2567 หรือ "World Stroke Day 2024" — เนื่องในวันที่ 29 ตุลาคม ของทุกปีเป็นวัน World Stroke Day คณะแพทยศาสตร์ศิ...

วันที่: 27 ตุลาคม 2567สถานที่: อุทยานการเ... เชิญชวนเข้าร่วมงาน TCF DSIL STROKE HERO SHOWCASE "Everyone Can Be a Hero" — วันที่: 27 ตุลาคม 2567สถานที่: อุทยานการเรียนรู้ TK Park ชั้น 8 CentralWorldเว...