ผู้บริโภคต้องการความไว้วางใจ-การควบคุมความเป็นส่วนตัวในยุคเทคโนโลยี 4IR ครองโลก

          PwC เผยรายงานล่าสุดพบ ผู้บริโภคทั่วโลกแห่ใช้งานเทคโนโลยีที่ช่วยขับเคลื่อนการปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 4 ชี้ 9วิไลพร ทวีลาภพันทอง% มีการใช้งานเทคโนโลยีโฟร์ไออาร์แล้วอย่างน้อย ความปลอดภัย ประเภท และส่วนใหญ่ยังยินดีที่จะแลกเปลี่ยนข้อมูลส่วนตัวหากได้รับประโยชน์ ขณะที่คนเอเชียกลัวเสี่ยงตกงานเพราะเทคโนโลยีสูงกว่าภูมิภาคอื่น แนะธุรกิจเร่งยกระดับทักษะแรงงาน และมีมาตรการป้องกันความปลอดภัยของข้อมูล เพื่อสร้างความไว้วางใจและการควบคุมความเป็นส่วนตัวที่ผู้บริโภคต้องการ
          นางสาว วิไลพร ทวีลาภพันทอง หุ้นส่วนสายงานธุรกิจที่ปรึกษา บริษัท PwC ประเทศไทย เปิดเผยถึง รายงาน Are we ready for the Fourth Industrial Revolution? ของ PwC ที่ทำการสำรวจผู้บริโภคจำนวน 6,วิไลพร ทวีลาภพันทองวิไลพร ทวีลาภพันทองวิไลพร ทวีลาภพันทอง คนและผู้บริหารอีก ความปลอดภัย,8วิไลพร ทวีลาภพันทองวิไลพร ทวีลาภพันทอง คนใน 6 ประเทศทั่วโลกเพื่อทำความเข้าใจถึงความรู้สึกที่ผู้บริโภคมีต่อเทคโนโลยีที่ช่วยขับเคลื่อนการปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 4 (Fourth Industrial Revolution technologies) หรือ เทคโนโลยีโฟร์ไออาร์ (4IR technologies) รวมทั้งผลกระทบที่เกิดขึ้นกับชีวิตประจำวันและชีวิตการทำงาน โดยเทคโนโลยีที่ถูกใช้ในการสำรวจครั้งนี้หมายรวมถึง ปัญญาประดิษฐ์ (เอไอ) อินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่ง บล็อกเชน และการพิมพ์แบบ อุตสาหกรรม มิติ และอื่น ๆ
          PwC พบว่า ผู้บริโภคกำลังใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีเหล่านี้* และตระหนักดีถึงข้อดีในเรื่องของการประหยัดเวลาและการปรับปรุงการผลิต อย่างไรก็ดี พวกเขายังคงมีความกังวลเกี่ยวกับประเด็นสำคัญอื่น ๆ เช่น ความไว้วางใจ ที่อาจส่งผลกระทบอย่างมีนัยสำคัญต่อการใช้งานของเทคโนโลยีโดยรวม และความสำเร็จของการปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 4 ได้สร้างสมดุลระหว่างความสะดวกสบายและความไว้วางใจ
          รายงานระบุว่า ในขณะที่ผู้บริโภคชื่นชอบความสะดวกสบายที่เทคโนโลยีใหม่ ๆ นำมาให้ แต่ยังไม่มั่นใจในเรื่องความเป็นส่วนตัวของข้อมูล โดย PwC พบว่า ผู้ถูกสำรวจทั่วทุกตลาดเห็นตรงกันในประเด็นนี้ โดยประเทศอย่างเกาหลีใต้ (74%) อินเดีย (7วิไลพร ทวีลาภพันทอง%) สหรัฐอเมริกา และสาธารณรัฐประชาชนจีน (เท่ากันที่ 69%) จัดอันดับให้ความเป็นส่วนตัวของข้อมูลและความปลอดภัยเป็นความกังวลอันดับแรก ตามด้วยสหราชอาณาจักร และเยอรมนีที่แสดงความกังวลน้อยกว่าเพียงเล็กน้อยที่ 66% และ 58% ตามลำดับ
          ในทางตรงกันข้าม เกาหลีใต้ (5ความปลอดภัย%) ยังถือเป็นตลาดที่มีแนวโน้มที่จะใช้ผลิตภัณฑ์และบริการจากเทคโนโลยีโฟร์ไออาร์เพื่อเข้าถึงหรือจัดเก็บข้อมูลทางการเงินของตนมากที่สุด เปรียบเทียบกับสหรัฐอเมริกา (อุตสาหกรรม5%) สหราชอาณาจักร (ขับเคลื่อน4%) และเยอรมนี (ขับเคลื่อนวิไลพร ทวีลาภพันทอง%) นอกจากนี้ เกาหลีใต้ (64%) สหรัฐอเมริกา และอินเดีย (เท่ากันที่ 6ขับเคลื่อน%) ก็เป็นตลาดที่มีแนวโน้มที่จะแลกเปลี่ยนข้อมูลทางด้านสุขภาพเพื่อการมีสุขภาพที่แข็งแรงขึ้น หรือปรับปรุงคุณภาพชีวิตให้ดีขึ้นด้วย
          ทั้งนี้ เมื่อให้ผู้ถูกสำรวจระบุถึงลำดับความสำคัญของการลงทุนในเทคโนโลยีโฟร์ไออาร์ อุตสาหกรรม อันดับแรกพบว่า มีเพียง 4วิไลพร ทวีลาภพันทอง% ของผู้นำธุรกิจที่พูดถึงการแจ้งเตือนให้ผู้บริโภคทราบถึงการรั่วไหลของข้อมูล แม้ว่าผู้บริโภคจะจัดให้การแจ้งเตือนให้ทราบถึงการรั่วไหลของข้อมูลมีความสำคัญสูงที่สุดเป็นอันดับที่ ขับเคลื่อน ในการเพิ่มความสะดวกสบายในการใช้เทคโนโลยีโฟร์ไออาร์ก็ตามขับเคลื่อนการปฏิรูปกำลังแรงงานในยุคโฟร์ไออาร์ เรื่องที่ต้องมองให้ไกลกว่าเทคโนโลยี
          รายงานระบุว่า ทั้งนายจ้างและผู้บริโภคเห็นพ้องกันในเรื่องของผลกระทบเชิงบวกของการประยุต์ใช้เทคโนโลยีโฟร์ไออาร์ในสถานที่ทำงาน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การกำจัดงานที่น่าเบื่อและปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงาน นอกจากนี้ 59% ของผู้บริโภคกล่าวว่า เทคโนโลยีโฟร์ไออาร์ยังช่วยให้พวกเขาสามารถหาสมดุลระหว่างชีวิตส่วนตัวและชีวิตการทำงานได้ดีขึ้น
          อย่างไรก็ดี ผู้นำธุรกิจและผู้บริโภคมีความเห็นที่แตกต่างกันในประเด็นผลกระทบของเทคโนโลยีโฟร์ไออาร์ที่มีต่อแนวโน้มการจ้างงานโดยผู้นำธุรกิจ (69%) เห็นว่า เทคโนโลยีโฟร์ไออาร์เป็นแรงขับเคลื่อนที่ทำให้เกิดการสร้างงาน ในขณะที่ผู้บริโภค (45%) กลับมองว่า เทคโนโลยีโฟร์ไออาร์เป็นปัจจัยที่สร้างความกังวลต่อความมั่นคงในอาชีพ ซึ่งเมื่อพิจารณาประเด็นนี้มุมมองในระดับโลกพบว่า ความกังวลต่อความมั่นคงในอาชีพของผู้ถูกสำรวจในเอเชียยังอยู่ในระดับสูงกว่าภูมิภาคอื่น ๆ โดยอินเดีย (7อุตสาหกรรม%) เกาหลีใต้ (57%) และสาธารณรัฐประชาชนจีน (5ขับเคลื่อน%) มีผู้ถูกสำรวจที่แสดงความกังวลนี้เป็นส่วนใหญ่เปรียบเทียบกับสหราชอาณาจักร (44%) สหรัฐอเมริกา (อุตสาหกรรม7%) และเยอรมนี (อุตสาหกรรมอุตสาหกรรม%)
          ทั้งนี้ บทวิเคราะห์ยังได้สะท้อนให้เห็นถึงการปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 4 ว่าเป็นมากกว่าเรื่องของเทคโนโลยี แต่เป็นการปฏิวัติวิธีการทำงานและการใช้ชีวิตของพวกเรา ซึ่งความท้าทายของผู้นำธุรกิจอยู่ที่ความไม่เชื่อมโยงกันที่เห็นได้ชัดระหว่างลำดับความสำคัญของผู้นำองค์กรและลำดับความสำคัญของพนักงานเมื่อพูดถึงผลกระทบของการลงทุนด้านเทคโนโลยีโฟร์ไออาร์ในสถานที่ทำงาน โดยในมุมมองของพนักงานนั้น เรื่องนี้ถือเป็นเรื่องสำคัญที่ผู้นำธุรกิจต้องสร้างกลไกที่เหมาะสมให้พวกเขาสามารถแลกเปลี่ยนความกังวลเกี่ยวกับผลกระทบของเทคโนโลยีที่มีต่องานได้
          "ในขณะที่ผลิตภัณฑ์อัจฉริยะและนวัตกรรมดิจิทัลยังถูกผลิตออกสู่ตลาดและเข้าสู่สถานที่ทำงานอย่างไม่ขาดสาย ผู้นำธุรกิจต้องยึดมั่นในการประยุต์ใช้แนวทางที่โปร่งใสและอาศัยความร่วมมือจากทุกฝ่ายในการยกระดับทักษะขององค์กร โดยมีจุดประสงค์ที่ชัดเจนทั้งในมุมของธุรกิจและประโยชน์ที่แรงงานมนุษย์จะได้รับเมื่อนำเทคโนโลยีโฟร์ไออาร์มาใช้" นาย สตีฟ พิลส์แบรี ผู้นำสายงานด้านการปฏิบัติงานดิจิทัล PwC ประเทศสหรัฐอเมริกา กล่าว
          "นี่ยังขึ้นอยู่กับนายจ้างที่จะต้องเตรียมความพร้อมให้กับกำลังแรงงานด้วยการจัดให้มีการเรียนรู้แบบส่วนบุคคล และส่งเสริมการประยุกต์ใช้ทักษะใหม่ ๆ ที่เกี่ยวข้องกับโฟร์ไออาร์ทั้งในเชิงธุรกิจและเชิงขั้นพื้นฐาน"
          ด้าน นางสาว วิไลพร กล่าวเสริมว่า "โอกาสของเทคโนโลยีโฟร์ไออาร์ในไทยจะยังมีอีกมาก เพราะการพัฒนาและประยุกต์ใช้เทคโนโลยีรวมทั้งนวัตกรรมใหม่ ๆ กำลังได้รับความสนใจมากขึ้นเรื่อย ๆ จากผู้ประกอบการ ซึ่งเทคโนโลยีที่เราเห็นองค์กรส่วนใหญ่นำมาใช้ค่อนข้างแพร่หลายแล้ว ได้แก่ เอไอ ระบบอัตโนมัติ หรือ การวิเคราะห์ข้อมูลขั้นสูง อย่างไรก็ดี ความท้าทายสำคัญของไทยในเวลานี้ คือ การยกระดับทักษะแรงงาน ซึ่งเป็นเรื่องที่ธุรกิจไทยต้องเร่งจัดการเพราะคนส่วนใหญ่ยังกังวลว่า เทคโนโลยีจะเข้ามาแย่งงาน มากกว่าช่วยงานในอนาคต นอกจากนี้ ยังต้องให้ความสำคัญกับการวางระบบรักษาความปลอดภัยของข้อมูลด้วย เพื่อเป็นการสร้างความไว้วางใจและภาพลักษณ์ที่ดีให้เกิดขึ้นกับองค์กร"
ผู้บริโภคต้องการความไว้วางใจ-การควบคุมความเป็นส่วนตัวในยุคเทคโนโลยี 4IR ครองโลก
 

ข่าววิไลพร ทวีลาภพันทอง+ความปลอดภัยวันนี้

DigitalCEO8 เรียนรู้ผ่านองค์กรชั้นนำระดับโลก PwC Thailand

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล (depa) โดย ดร.จักกนิตต์ คณานุรักษ์ ผู้อำนวยการฝ่ายส่งเสริมการพัฒนากำลังคนดิจิทัล นำคณะผู้อบรมหลักสูตรผู้นำการส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล (Digital CEO) รุ่นที่ 8 จำนวน 82 คน เรียนรู้ผ่านองค์กรชั้นนำระดับโลก PwC Thailand นายพิสิฐ ทางธนกุล ประธานกรรมการบริหาร บริษัท PwC (ประเทศไทย) ให้เกียรติต้อนรับผู้อบรม ก่อนนำเข้าสู่การบรรยายพิเศษ "กรณีศึกษา PwC digital Transformation" โดยคุณวิไลพร ทวีลาภพันทอง หุ้นส่วนสายงานที่ปรึกษา บริษัท PwC Consulting (ประเทศไทย) จำกัด และหัวข้อ

PwC ประเทศไทย เผยโซลูชันการธนาคารในรูปแบบ... PwC ประเทศไทย เผยโซลูชัน BaaS จิ๊กซอว์สำคัญพลิกโฉมระบบนิเวศทางการเงินของไทย — PwC ประเทศไทย เผยโซลูชันการธนาคารในรูปแบบบริการ หรือ BaaS จะเป็นส่วนสำคัญในก...

PwC ประเทศไทย เผยธนาคารไทยส่วนใหญ่ยังไม่ส... PwC ประเทศไทย ชี้ธนาคารไทยส่วนใหญ่ยังเปลี่ยนแปลงองค์กรสู่ดิจิทัลไม่สำเร็จ — PwC ประเทศไทย เผยธนาคารไทยส่วนใหญ่ยังไม่สามารถเปลี่ยนแปลงองค์กรสู่ดิจิทัลได้สำ...

PwC ประเทศไทย แนะธุรกิจวางกลยุทธ์เพื่อเปล... PwC แนะธุรกิจไทยวางกลยุทธ์ย้ายโครงสร้างไอทีดั้งเดิมสู่ระบบคลาวด์ — PwC ประเทศไทย แนะธุรกิจวางกลยุทธ์เพื่อเปลี่ยนผ่านโครงสร้างพื้นฐานด้านไอทีแบบดั้งเดิมสู่...

PwC ประเทศไทย ได้รับรางวัล Microsoft Thai... PwC ประเทศไทย คว้ารางวัล Microsoft Thailand Partner of the Year ประจำปี 2565 — PwC ประเทศไทย ได้รับรางวัล Microsoft Thailand Partner of the Year ประจำปี 2...