สอศ.จับมือโคเซ็น จัดหลักสูตรอาชีวะพรีเมี่ยม (ปวส.ต่อเนื่อง 5 ปี) สาขาวิศวกรรมเมคคาทรอนิกส์และวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ตามมาตรฐานประเทศญี่ปุ่น สอดรับความต้องการตลาดแรงงาน

          สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.)โดยวิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์ (ชลบุรี) และวิทยาลัยเทคนิคสุรนารี จัดพิธีเปิดการเรียนการสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) (ต่อเนื่อง 5 ปี) ซึ่งเป็นหลักสูตรมาตรฐานสากลภายใต้ความร่วมมือกับ National Institute of Technology สถาบัน KOSEN (สถาบันโคเซ็น) ประเทศญี่ปุ่น มุ่งเน้นผลิตกำลังคนคุณภาพตามนโยบายไทยแลนด์ 4.สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา และอุตสาหกรรมเป้าหมายเร่งด่วนของประเทศ ซึ่งในพิธีเปิดครั้งนี้ ดร.สุเทพ ชิตยวงษ์ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ได้มอบหมายให้นายสมศักดิ์ ลิลา ที่ปรึกษาพิเศษสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เข้าร่วม โดยมีดร.เคนจิ ฮิกะชิดะ(Dr. Kenji Higashida, the Executive Director, President of NIT Sasebo College, ผู้บริหารสถาบันโคเซ็น ประเทศญี่ปุ่น และผู้ประกอบการบริษัทญี่ปุ่นในประเทศไทย อาทิ บริษัทสายการบินเจแปนแอร์ไลน์ บริษัท Nikle Solution และ นิคมอุตสาหกรรมปิ่นทอง เข้าร่วมด้วย ณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์ (ชลบุรี)
          ดร.สุเทพ ชิตยวงษ์ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เปิดเผยว่า สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ได้มีความร่วมมือกับ National Institute of Technology (สถาบันโคเซ็น) ประเทศญี่ปุ่น โดยได้ลงนามความร่วมมือมาตั้งแต่ปี พ.ศ. วิทยาลัยเทคนิค555 และปี พ.ศ. วิทยาลัยเทคนิค559 สอศ.และสถาบันโคเซ็น ได้ร่วมกันจัดตั้ง สถาบันเทคโนโลยีและวิศวกรรมศาสตร์ไทย – ญี่ปุ่นโคเซ็น (Japanese – Thai KOSEN Institute of Engineering and Technology) ณ สอศ.กระทรวงศึกษาธิการ เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอนประเภทวิชาอุตสาหกรรม ในการสร้างกำลังคนคุณภาพรองรับผู้ประกอบการญี่ปุ่นในประเทศไทย โดยในปีการศึกษา วิทยาลัยเทคนิค56วิทยาลัยเทคนิคนี้ ได้เปิดรับสมัครนักเรียนในหลักสูตรตามมาตรฐานโคเซ็น ประเทศญี่ปุ่นใน วิทยาลัยเทคนิค สถานศึกษา วิทยาลัยเทคนิค สาขาวิชา ได้แก่ วิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์ (ชลบุรี)ในสาขาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ และวิทยาลัยเทคนิคสุรนารี ในสาขาวิศวกรรมเมคคาทรอนิกส์ โดยผู้สมัครเรียนจะต้องจบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 (ม.3) มีเกรดเฉลี่ย 3.สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ขึ้นไป ซึ่งมีนักเรียนให้ความสนใจและสมัครเข้าสอบคัดเลือกเป็นจำนวนมาก โดยเกณฑ์การสอบคัดเลือกแบ่งเป็นการสอบข้อเขียน 7สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา % ประกอบด้วยวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ (ฟิสิกส์) และภาษาอังกฤษ ดำเนินการโดยผู้เชี่ยวชาญจากสถาบัน KOSEN และการสอบสัมภาษณ์ 3สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา% ประกอบด้วย การนำเสนอแฟ้มสะสมผลงาน การวัดทักษะทางวิศวกรรมและเทคโนโลยี และบุคลิกภาพ ดำเนินการโดยสถานศึกษา โดยนักเรียนที่สอบผ่านจะต้องมีความรู้ความสามารถตรงกับคุณสมบัติมาตรฐานของโคเซ็น ประเทศญี่ปุ่น ซึ่งในปีการศึกษา วิทยาลัยเทคนิค56วิทยาลัยเทคนิค นี้ มีนักเรียนที่สอบผ่านและรายงานตัวเข้าศึกษาแล้ว จำนวน 3วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ คน แบ่งเป็น วิทยาลัยเทคนิคสุรนารี จำนวน วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์5 คน และวิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์ (ชลบุรี) จำนวน วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์6 คน ทั้งนี้ สอศ.และสถาบันโคเซ็น ได้ดำเนินการเตรียมความพร้อมก่อนเปิดภาคเรียนที่ วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ ปีการศึกษา วิทยาลัยเทคนิค56วิทยาลัยเทคนิค ได้แก่ การประชุมวางแผนการจัดการเรียนการสอนตามมาตรฐานญี่ปุ่น การอบรมพัฒนาครูตามมาตรฐานญี่ปุ่น และการอบรมนักเรียนเพื่อปรับพื้นฐานวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ โดยมีผู้เชี่ยวชาญจากสถาบันโคเซ็น ประเทศญี่ปุ่น เป็นวิทยากรทั้งหมด
          ดร.เคนจิ ฮิกะชิดะ ผู้อำนวยการฝ่ายบริหาร National Institute of Technology สถาบัน KOSEN ประเทศญี่ปุ่น กล่าวว่า มีความยินดีและภูมิใจที่ได้มาร่วมพิธีเปิดหลักสูตรอาชีวะพรีเมี่ยม ปวส.ต่อเนื่อง 5 ปี สาขาวิศวกรรมเมคคาทรอนิกส์และวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ ในนามของสถาบันโคเซ็น ประเทศญี่ปุ่น ซึ่ง ปีนี้เป็นปีที่ วิทยาลัยเทคนิค ขอต้อนรับนักศึกษาใหม่ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าทุกคนจะได้รับความรู้และทักษะตรงกับความต้องการของภาคอุตสาหกรรมไทย และขอย้ำว่าหลังจบการศึกษา สถาบันโคเซ็น ประเทศญี่ปุ่น จะพยายามให้นักเรียนได้มีงานทำเท่าๆกับโอกาสในการฝึกงาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากบริษัทญี่ปุ่นซึ่งมีความร่วมมือกับสอศ. และสถานศึกษา และขอแนะนำให้นักเรียนตั้งใจเรียนตามหลักสูตร และควรฝึกภาษาญี่ปุ่นเพิ่มเติมด้วย ซึ่งทักษะการสื่อสารภาษาญี่ปุ่น จะเป็นจุดสนใจที่บริษัทญี่ปุ่นต้องการจ้างงานด้วย
          เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กล่าวเพิ่มเติมว่า สอศ. มีความพร้อมอย่างยิ่งใน การจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ต่อเนื่อง 5 ปี) สาขาวิชาวิศวกรรม เมคคาทรอนิกส์และสาขาวิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ตามมาตรฐานโคเซ็น ประเทศญี่ปุ่นโดยตั้งเป้าหมายว่าในอีก 5 ปีข้างหน้า สอศ.จะมีช่างฝีมือคุณภาพมีความรู้ความสามารถและประสบการณ์ที่ได้มาตรฐานเป็นที่ยอมรับในระดับสากล และมีสมรรถนะสูง ตรงกับความต้องการของตลาดแรงงาน และตอบสนองนโยบาย Thailand 4.สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา 
          นางสาวชนากานต์ ซื้อสุวรรณ นักศึกษาชั้นปีที วิทยาลัยเทคนิค หลักสูตรปวส.ต่อเนื่อง 5 ปี สาขาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ สาขางานหุ่นยนต์เพื่อการอุตสาหกรรม วิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคโลยีฐานวิทยาศาสตร์ เปิดเผยว่า ตนเลือกเรียนสาขาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์นี้เพราะว่าชอบวิชาคณิตศาสตร์ และฟิสิกส์ ประกอบกับมองว่าตลาดแรงงานหรือในอนาคตจะใช้หุ่นยนต์ในอุตสาหกรรม แทนการใช้แรงงานคน คนก็จะตกงานมากขึ้น แต่ถ้าเรามีความรู้ความสามารถในการควบคุมหุ่นยนต์ เราก็จะมีโอกาสในอนาคตมากกว่าคนอื่นๆ และสาขาวิชาวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์นี้ก็สามารถพัฒนาต่อยอดได้ในหลาย ๆ ด้าน เป็นสาขาที่ไปเรียนต่อในสาขาอื่นได้อีกด้วย ทั้งนี้ เป้าหมายในอนาคตหลังเรียนจบ วางแผนไว้ วิทยาลัยเทคนิค ทาง คือ อยากเป็นวิศวกรการบิน เนื่องจากชอบเครื่องบิน และวิทยาลัยอาชีวศึกษาเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์ (ชลบุรี)ได้นำสายการบินเจแปนแอร์ไลน์ จึงเป็นแรงจูงใจทำให้อยากไปทำงาน แต่หากไม่ได้เป็นวิศวกรการบิน ก็จะเป็นวิศวกรอิเล็กทรอนิกส์ ทำงานเกี่ยวกับการควบคุมหุ่นยนต์ตามโรงงานอุตสาหกรรม
สอศ.จับมือโคเซ็น จัดหลักสูตรอาชีวะพรีเมี่ยม (ปวส.ต่อเนื่อง 5 ปี) สาขาวิศวกรรมเมคคาทรอนิกส์และวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ตามมาตรฐานประเทศญี่ปุ่น สอดรับความต้องการตลาดแรงงาน
 
สอศ.จับมือโคเซ็น จัดหลักสูตรอาชีวะพรีเมี่ยม (ปวส.ต่อเนื่อง 5 ปี) สาขาวิศวกรรมเมคคาทรอนิกส์และวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ตามมาตรฐานประเทศญี่ปุ่น สอดรับความต้องการตลาดแรงงาน
สอศ.จับมือโคเซ็น จัดหลักสูตรอาชีวะพรีเมี่ยม (ปวส.ต่อเนื่อง 5 ปี) สาขาวิศวกรรมเมคคาทรอนิกส์และวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ตามมาตรฐานประเทศญี่ปุ่น สอดรับความต้องการตลาดแรงงาน
 
สอศ.จับมือโคเซ็น จัดหลักสูตรอาชีวะพรีเมี่ยม (ปวส.ต่อเนื่อง 5 ปี) สาขาวิศวกรรมเมคคาทรอนิกส์และวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์ตามมาตรฐานประเทศญี่ปุ่น สอดรับความต้องการตลาดแรงงาน
 
 
 

ข่าวสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา+วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์วันนี้

วช. จับมือ สอศ. ดันสิ่งประดิษฐ์อาชีวศึกษา พลิกโฉมการศึกษาไทย ด้วยกิจกรรม TVET Smart Idea2Innovation

สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ร่วมกับ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จัดกิจกรรม "TVET Smart Idea2Innovation : สิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมอาชีวศึกษาสู่นวัตกรรมพร้อมใช้" ประจำปี 2568 ครั้งที่ 4 ภาคเหนือ โดย ดร.วิภารัตน์ ดีอ่อง ผู้อำนวยการสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ ให้เกียรติเป็นประธานในพิธีเปิด และปาฐกถาพิเศษเรื่อง "TVET Smart Idea2Innovation : บ่มเพาะ เสริมแกร่ง พัฒนาบุคลากรอาชีวศึกษา สู่นวัตกรรมพร้อมใช้" พร้อมด้วย ดร.นิรุตต์ บุตรแสนลี รองศึกษาธิการภาค

การประปาส่วนภูมิภาค (กปภ.) ร่วมกับ สำนักง... กปภ. ผนึกกำลัง สอศ. อบรมช่างประปาฟรี สร้างอาชีพให้ประชาชน — การประปาส่วนภูมิภาค (กปภ.) ร่วมกับ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) จัดพิธีเปิดโครงการฝึ...

การประปาส่วนภูมิภาค (กปภ.) ร่วมลงนามบันทึ... กปภ. MOU สอศ. บูรณาการฝึกอาชีพช่างประปา สร้างงาน สร้างรายได้ ให้ประชาชน — การประปาส่วนภูมิภาค (กปภ.) ร่วมลงนามบันทึกความเข้าใจ (MOU) กับสำนักงานคณะกรรมการ...

วันที่ 26 กันยายน 2567 นายศุภชัย เอกอุ่น ... PEA นำทัพภาคีเครือข่ายฟื้นฟูระบบไฟฟ้าให้ผู้ประสบอุทกภัยภาคเหนือ — วันที่ 26 กันยายน 2567 นายศุภชัย เอกอุ่น ผู้ว่าการการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ประธานในพิธีแถลงข่...