วิศวะมหิดล จับมือ TCELS จัดประชุมนานาชาติหุ่นยนต์การแพทย์ พร้อมทุ่ม 1,200 ล้านบาท สร้างศูนย์หุ่นยนต์การแพทย์ บูม R&D และอุตสาหกรรม

          ครั้งแรกในประเทศไทยและในเอเซียแปซิฟิค โดย มหาวิทยาลัยมหิดล คณะวิศวกรรมศาสตร์ ศูนย์เครือข่ายวิจัยประยุกต์ทางเทคโนโลยีหุ่นยนต์และชีวการแพทย์ (BART LAB) ร่วมกับ ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ (องค์การมหาชน) (TCELS) เป็นเจ้าภาพจัดในนามประเทศไทย ดีเดย์เปิดประชุมนานาชาติหุ่นยนต์การแพทย์ระดับสูง (The คณะวิศวกรรมศาสตร์ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์กระทรวงศึกษาธิการ9 International Advanced Medical Robotics Symposium : iAMRS คณะวิศวกรรมศาสตร์ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์กระทรวงศึกษาธิการ9) ณ โรงแรมสุโกศล โดยมี ศาสตราจารย์คลินิค นายแพทย์อุดม คชินทร รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เป็นประธานพิธีเปิดงาน พร้อมด้วย ผศ.ดร.จักรกฤษณ์ ศุทธากรณ์ คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ ม.มหิดล ท่ามกลางผู้เข้าร่วมประชุมทั้งนักวิจัย วิศวกร ผู้ผลิตหุ่นยนต์ ซัพพลายเออร์จากนานาประเทศ ได้แก่ อังกฤษ , สหรัฐอเมริกา , ญี่ปุ่น , สิงคโปร์, ไต้หวัน , อินเดีย เป็นต้น 
          ผศ.ดร.จักรกฤษณ์ ศุทธากรณ์ (Jackrit Suthakorn) คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล กล่าวว่า ตลาดรวมเครื่องมือแพทย์ในโลกมีมูลค่าส่งออกและนำเข้ารวม 7กระทรวงศึกษาธิการ ล้านล้านบาท ในอุตสาหกรรมหุ่นยนต์การแพทย์ แบ่งเป็น มหาวิทยาลัยมหิดล กลุ่ม คือ หุ่นยนต์ผ่าตัด ระบบอัตโนมัติที่ใช้ในโรงพยาบาล และหุ่นยนต์เพื่อการฟื้นฟูสุขภาพสำหรับผู้ป่วยและผู้สูงวัย แม้ว่าหุ่นยนต์การแพทย์จะมีสัดส่วนเพียง กระทรวงศึกษาธิการศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์% แต่มีมูลค่าตลาดสูงถึง 6ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ % ของตลาดหุ่นยนต์บริการทั้งหมด สำหรับมูลค่าตลาดประเทศไทย มียอดนำเข้าเครื่องมือแพทย์ในปี คณะวิศวกรรมศาสตร์56ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ มีมูลค่า 6คณะวิศวกรรมศาสตร์,กระทรวงศึกษาธิการมหาวิทยาลัยมหิดลกระทรวงศึกษาธิการ ล้านบาท และยอดส่งออกมีมูลค่า กระทรวงศึกษาธิการศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์คณะวิศวกรรมศาสตร์,475 ล้านบาท ซึ่งมีแนวโน้มเติบโตจากหลายปัจจัยหนุน ทั้งจากนโยบายรัฐในการก้าวเป็นศูนย์กลางการแพทย์และส่งออก (Medical Hub) อีกทั้งรองรับสังคมสูงวัย ขณะที่แนวโน้มจำนวนผู้ป่วยต่างชาติและการท่องเที่ยวเพื่อสุขภาพเพิ่มขึ้น ตลอดจนการขยายตัวในการลงทุนธุรกิจโรงพยาบาลในประเทศไทย 
          งานประชุมนานาชาติหุ่นยนต์การแพทย์ระดับสูง iAMRS คณะวิศวกรรมศาสตร์ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์กระทรวงศึกษาธิการ9 นับเป็นปรากฎการณ์ครั้งสำคัญ ที่ชูบทบาทของประเทศไทยในการเป็นผู้นำความร่วมมือ ส่งเสริมการวิจัยและอุตสาหกรรมการผลิตหุ่นยนต์การแพทย์ระดับสูงบนเวทีโลก ผนึกพลังนานาประเทศเป็นหนึ่งเดียวกันในพัฒนาหุ่นยนต์ทางการแพทย์ (Advanced Medical Robotics) ซึ่งกำลังทวีบทบาทในการดูแลบำบัดรักษาและฟื้นฟูสุขภาพด้วยเทคโนโลยีที่ก้าวหน้าทันสมัยและปลอดภัย โดยสอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงทางดิจิทัลและเทคโนโลยี การก้าวเข้าสู่สังคมสูงวัยของประเทศไทยและหลายประเทศ ที่สำคัญช่วยลดอัตราการเสียชีวิตจากโรคร้ายต่างๆ ตลอดจนผลกระทบจากการผ่าตัดรักษา ทั้งนี้ ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ (องค์การมหาชน) (TCELS) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ยังได้ร่วมกับ มหาวิทยาลัยมหิดล ได้เตรียมงบ กระทรวงศึกษาธิการ,คณะวิศวกรรมศาสตร์ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ ล้านบาท โดยเริ่มงบเฟสแรก 4ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ ล้านบาท สร้างศูนย์หุ่นยนต์การแพทย์ระดับสูง (Advanced Medical Robotics Center) อาคารศูนย์ 5 ชั้น พร้อมอุปกรณ์ ณ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ศาลายา ศูนย์นี้จะเปลี่ยนงานวิจัยให้เป็นต้นแบบผลิตภัณฑ์ เพื่อการผลิตในเชิงพาณิชย์ต่อไป โดยกำหนดเปิดในปี คณะวิศวกรรมศาสตร์56มหาวิทยาลัยมหิดล หลังจากนั้นจะเป็นการทำระบบการรับรองมาตรฐานสากลให้สามารถตรวจสอบและรับรองมาตรฐานหุ่นยนต์การแพทย์และเครื่องมือแพทย์ของไทย แก้ปัญหาคอขวดที่ผลงานวิจัยไทยและอาเซียนที่ไม่สามารถผลิตสู่เชิงพาณิชย์ เพราะขาดศูนย์ทดสอบมาตรฐาน และยังช่วยลดค่าใช้จ่ายในการส่งทดสอบในต่างประเทศลงกว่า 5ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ % นับเป็นสนับสนุนการเติบโตของอุตสาหกรรมหุ่นยนต์และอุปกรณ์การแพทย์ระดับสูงสู่ตลาดโลก ตลอดจนการเป็นเมดิคัลฮับของภูมิภาค คาดว่าศูนย์หุ่นยนต์การแพทย์ระดับสูงนี้จะบริการเต็มขั้นในปี คณะวิศวกรรมศาสตร์564 
          ในงานครั้งนี้ยังมีการลงนามข้อตกลงความร่วมมือเป็นหุ้นส่วน ระหว่าง ศูนย์เครือข่ายวิจัยประยุกต์ทางเทคโนโลยีหุ่นยนต์และชีวการแพทย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล หรือ Center for Biomedical and Robotics Technology (BART LAB) กับ แฮมลีน เซนเตอร์ มหาวิทยาลัยอิมพีเรียล (Hamlyn Centre , Imperial College) แห่งประเทศอังกฤษ ซึ่งเป็นแหล่งสร้างนวัตกรรมที่มีผลงานโดดเด่นและชื่อเสียงระดับโลก เพื่อร่วมมือกันพัฒนางานวิจัยและบ่มเพาะเทคโนโลยีหุ่นยนต์และอุปกรณ์การแพทย์ในประเทศไทย 
          สาระของการประชุมนานาชาติหุ่นยนต์การแพทย์ระดับสูง หรือ The คณะวิศวกรรมศาสตร์ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์กระทรวงศึกษาธิการ9 International Advanced Medical Robotics Symposium (iAMRS คณะวิศวกรรมศาสตร์ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์กระทรวงศึกษาธิการ9) ครอบคลุมเกี่ยวกับ หุ่นยนต์ผ่าตัด (Robotics in Surgery) , หุ่นยนต์พยาบาลดูแลผู้สูงวัย (Robotics for Rehabilitation and Elderly) , มาตรฐาน กฏและข้อบังคับสำหรับหุ่นยนต์การแพทย์ (Standards, Rules and Regulations) , หุ่นยนต์ดูแลสุขภาพและหุ่นยนต์โรงพยาบาล (Healthcare/Hospital Robotics) , ดิจิทัลและปัญญาประดิษฐ์ในการแพทย์ (Digital and AI in Medicine) , อุตสาหกรรมหุ่นยนต์และอุปกรณ์การแพทย์ (Medical Robotics and Device Industry)
          วิทยากรที่มีชื่อเสียง ที่เดินทางมาแลกเปลี่ยนถ่ายทอดองค์ความรู้ ด้านหุ่นยนต์ทางการแพทย์ ในการประชุมครั้งนี้ อาทิเช่น มร.โยชิยูกิ ซานไค จาก Cyberdine ผู้ผลิตหุ่นยนต์ช่วยเดิน"ไซบอร์ก" มร.กวง ซง หยาง ผู้อำนวยการ แฮมลีนเซ็นเตอร์ อิมพีเรียล คอลเลจ, มร.อีริค พี.ดัตสัน ผอ.การแพทย์ ศูนย์เทคโนโลยีนานาชาติและผ่าตัดระดับสูง (CASIT), ผศ.ดร.จักรกฤษณ์ ศุทธากรณ์ นวัตกรหุ่นยนต์ และคณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, ศาสตราจารย์ โรม ชุตาภา มหาวิทยาลัย UCLA และอีกมากมาย
          ศ. คลินิค นายแพทย์อุดม คชินทร (Udom Kachintorn) รมช.กระทรวงศึกษาธิการ กล่าวว่า ในระยะการเปลี่ยนผ่านประเทศไทยสู่เศรษฐกิจดิจิทัล สู่เป้าหมายไทยแลนด์ 4.ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ รองรับการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (EEC) ซึ่งอุตสาหกรรมหุ่นยนต์และชีวการแพทย์เป็นส่วนหนึ่งในอุตสาหกรรมเป้าหมาย New S-Curve วันนี้จึงเป็นวันที่น่ายินดี ที่ประเทศไทยได้ริเริ่มเป็นเจ้าภาพ จัดงานประชุมนานาชาติหุ่นยนต์การแพทย์ระดับสูง หรือ The คณะวิศวกรรมศาสตร์ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์กระทรวงศึกษาธิการ9 International Advanced Medical Robotics Symposium (iAMRS คณะวิศวกรรมศาสตร์ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์กระทรวงศึกษาธิการ9) ซึ่งจะเป็นแพลตฟอร์มที่เสริมสร้างเครือข่ายอันแข็งแกร่งระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในอุตสาหกรรมหุ่นยนต์การแพทย์และอุปกรณ์การแพทย์ระดับสูง สร้างประโยชน์และคุณภาพชีวิตที่ดีต่อประเทศไทยและประชาคมโลก
วิศวะมหิดล จับมือ TCELS จัดประชุมนานาชาติหุ่นยนต์การแพทย์ พร้อมทุ่ม 1,200 ล้านบาท สร้างศูนย์หุ่นยนต์การแพทย์ บูม R&D และอุตสาหกรรม
 
วิศวะมหิดล จับมือ TCELS จัดประชุมนานาชาติหุ่นยนต์การแพทย์ พร้อมทุ่ม 1,200 ล้านบาท สร้างศูนย์หุ่นยนต์การแพทย์ บูม R&D และอุตสาหกรรม
 
วิศวะมหิดล จับมือ TCELS จัดประชุมนานาชาติหุ่นยนต์การแพทย์ พร้อมทุ่ม 1,200 ล้านบาท สร้างศูนย์หุ่นยนต์การแพทย์ บูม R&D และอุตสาหกรรม
วิศวะมหิดล จับมือ TCELS จัดประชุมนานาชาติหุ่นยนต์การแพทย์ พร้อมทุ่ม 1,200 ล้านบาท สร้างศูนย์หุ่นยนต์การแพทย์ บูม R&D และอุตสาหกรรม
 
 
 

ข่าวศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์+กระทรวงศึกษาธิการวันนี้

MEDEZE ร่วมอภิปรายงานประชุมวิชาการนานาชาติ "สถานการณ์การพัฒนาและผลิตผลิตภัณฑ์การแพทย์ขั้นสูง (ATMPs) ในประเทศไทย"

นายแพทย์วีรพล เขมะรังสรรค์ (ที่ 1 จากขวา) ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท เมดีซ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) หรือ MEDEZE นพ.โอฬาร เปี่ยมกุลวนิช (ที่ 2 จากขวา) ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท วินเซลล์ รีเซิร์ช จำกัด ผศ.ดร.วิยะดา ปัญจรัก (ที่ 3 จากขวา) ผู้อำนวยการศูนย์เซลล์บำบัดรักษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น ศ.ดร.ศันสนีย์ ไชยโรจน์ (ที่ 4 จากขวา) ประธานอนุกรรมการแผนงานกลุ่มสุขภาพและการแพทย์ หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (บพข.), คณะกรรมการบริหารศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์

ดร.โศรดา วัลภา รองผู้ว่าการวิจัยและพัฒนาด... วว. คว้ารางวัล Medal of Excellence จากเวที COSMETIC 360 ปี 2024 ณ ประเทศฝรั่งเศส — ดร.โศรดา วัลภา รองผู้ว่าการวิจัยและพัฒนาด้านอุตสาหกรรมชีวภาพ สถาบันวิจั...

ผลิตภัณฑ์สมุนไพรทั่วโลก มีมูลค่าตลาดสูงถึ... นาโนเทค-อย.-TCELS หนุนระบบรับรองวัตถุดิบและสารสกัดสมุนไพร ยกระดับอุตฯ ไทยสู่สากล — ผลิตภัณฑ์สมุนไพรทั่วโลก มีมูลค่าตลาดสูงถึง 56.50 พันล้านเหรียญสหรัฐ เป็...

ดร.จิตติ์พร ธรรมจินดา ผู้อำนวยการ ศูนย์คว... TCELS นำเสนอเทคโนโลยีโปรตอนลดความเหลื่อมล้ำ ต้อนรับรองนายกอนุทิน — ดร.จิตติ์พร ธรรมจินดา ผู้อำนวยการ ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ (องค์การมหาชน) หร...

16 พ.ย. 2566 ดร.ชัยรัตน์ อุทัยพิบูลย์ รอง... TCELS เข้าร่วม NCRN conference 2023 พร้อมหนุนเสริมงานวิจัยคลินิกของประเทศ — 16 พ.ย. 2566 ดร.ชัยรัตน์ อุทัยพิบูลย์ รองผู้อำนวยการ ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีวว...

15 พฤศจิกายน 2566 ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชี... TCELS พร้อมหนุน บีบีเอช ฮอสปิทอล แมเนจเม้นท์ เข้า mai ปี 2570 — 15 พฤศจิกายน 2566 ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ (องค์การมหาชน) (ศลช.) โดยฝ่ายยุทธศาส...

13 พ.ย. 2566 ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทย... TCELS ร่วมออกบูธ อว. ต้อนรับนายอนุทิน ชาญวีรกูล — 13 พ.ย. 2566 ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ (องค์การมหาชน) โดย ดร.จิตติ์พร ธรรมจินดา ผู้อำนวยการ...

8 พ.ย. 2566 ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยา... TCELS ผนึกกำลัง VNU พร้อมยกระดับ Bio Asia Pacific 2024 — 8 พ.ย. 2566 ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ (องค์การมหาชน) โดย คุณไปยดา หาญชัยสุขสกุล รองผู้อ...

16-20 ต.ค. 2566 ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีวว... TCELS พาผู้ประกอบการไทยบุกตลาดโลก ในงาน Cosmetic 360 ปารีส — 16-20 ต.ค. 2566 ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ (องค์การมหาชน) นำโดย ศ.ดร.ศันสนีย์ ไชยโรจ...

ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ (องค์... TCELS จัดอบรมเรื่องทรัพย์สินทางปัญญา TRIUP Act และ FTO — ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตร์ (องค์การมหาชน) จัดอบรมหลักสูตร "ความรู้ด้านทรัพย์สินทางปัญญา ...