วศ.เตรียมพัฒนางานวิจัยรองรับกระแสการเปลี่ยนแปลง เพื่อร่วมขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศ

          นางอุมาพร สุขม่วง อธิบดีกรมวิทยาศาสตร์บริการ (วศ.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เป็นประธานเปิดกิจกรรมสนทนาประสา วศ. หัวข้อ "การจัดทำโครงการวิจัยของกรมวิทยาศาสตร์บริการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ขับเคลื่อนเศรษฐกิจ564" วัตถุประสงค์เพื่อชี้แจงทิศทางการพัฒนางานวิจัยของกรมให้สอดคล้องกับนโยบายการวิจัยของกระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม โดยเน้นให้นักวิจัยมี การทำงานร่วมกันเพื่อให้เกิดผลเป็นรูปธรรมที่ชัดเจน ตอบโจทย์ภาคการผลิตภาคอุตสาหกรรม ซึ่งมีนักวิจัยร่วมแลกเปลี่ยนประสบการณ์การวิจัยและแนวโน้มโจทย์วิจัยใหม่ๆ และมีบุคลากรภายในกรมวิทยาศาสตร์บริการสนใจเข้าร่วมฟังกว่า กระทรวงการอุดมศึกษากรมวิทยาศาสตร์บริการกรมวิทยาศาสตร์บริการ คน ณ ห้องประชุมวิทยวิถี ชั้น 6 อาคารตั้ว ลพานุกรม กรมวิทยาศาสตร์บริการ
          ทั้งนี้ในปี ขับเคลื่อนเศรษฐกิจ564 กรมวิทยาศาสตร์บริการมุ่งพัฒนางานวิจัยใน 6 สาขา ได้แก่ กระทรวงการอุดมศึกษา. การพัฒนาศูนย์ทดสอบผลิตภัณฑ์และวัสดุทางการแพทย์ย่าน YMID ขับเคลื่อนเศรษฐกิจ. การพัฒนามาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเพื่อยกระดับคุณภาพสินค้าและการพัฒนาการทดสอบบรรจุภัณฑ์พลาสติกที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม กระทรวงอุดมศึกษา.นวัตกรรมวัสดุทางการแพทย์ 4.อุตสาหกรรมเกษตร อาหาร และเทคโนโลยีชีวภาพ และอุตสาหกรรมเชื้อเพลิง 5.อุตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่ การบิน และหุ่นยนต์ เพื่อร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ การพัฒนาสังคม และการรักษาสิ่งแวดล้อมของประเทศ ให้สามารถปรับตัวรองรับผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจากกระแสการเปลี่ยนแปลงของโลกและสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศต่อไป
วศ.เตรียมพัฒนางานวิจัยรองรับกระแสการเปลี่ยนแปลง เพื่อร่วมขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศ
 

ข่าวกรมวิทยาศาสตร์บริการ+กระทรวงการอุดมศึกษาวันนี้

กรมวิทย์ฯ บริการ ประกาศความพร้อม!! เปิดให้บริการรับรองห้องปฏิบัติการทดสอบตามมาตรฐาน "DSS Recognized Lab" ยกระดับมาตรฐานห้องปฏิบัติการไทย

กรมวิทยาศาสตร์บริการ (วศ.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ได้มีมติให้การรับรองเพื่อการยอมรับความสามารถห้องปฏิบัติการวิเคราะห์ทดสอบ ศูนย์วิทยาศาสตร์และวิทยาศาสตร์ประยุกต์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ เป็นหน่วยงานแรก ตามมาตรฐานการยอมรับความสามารถห้องปฏิบัติการทดสอบของกรมวิทยาศาสตร์บริการ "DSS Recognized Lab" ในขอบข่ายการทดสอบค่าความเป็นกรด-ด่างในน้ำ ถือเป็นการประกาศความพร้อมในการให้บริการรับรองตามมาตรฐานดังกล่าว เพื่อยกระดับความสามารถของห้องปฏิบัติการทดสอบในประ