ก.เกษตรฯ รมช.กษ.ยกทีมตรวจเขื่อน

          3 รัฐมนตรีเกษตรฯยกทีมลงพื้นที่ดูสถานการณ์น้ำในเขื่อนภูมิพล-สิริกิติ์เตรียมใช้ระบบการชะลอสูบน้ำเพื่อยืดระยะเวลาน้ำใช้การเหลือนานขึ้นแก้วิกฤติน้ำไม่ไหลลงเขื่อน พร้อมเตรียมหารือนายกฯระดม3 เหล่าทัพร่วมแก้ปัญหาภัยแล้ง 
          นายประภัตรโพธสุธนรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์พร้อมด้วยร้อยเอกธรรมนัสพรหมเผ่ารัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์และนางสาวมนัญญาไทยเศรษฐ์รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ลงพื้นที่ติดตามสถานการณ์น้ำในเขื่อนณเขื่อนภูมิพลต.บ้านนาอ.สามเงาจ.ตากและเขื่อนสิริกิติ์จ.อุตรดิตถ์เพื่อรับฟังรายงานสถานการณ์น้ำจากการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยกรมชลประทานกรมส่งเสริมการเกษตรกรมฝนหลวงและการบินเกษตรและหน่วยงานอื่นๆที่เกี่ยวข้องพร้อมรับฟังปัญหาของเกษตรกรเพื่อพิจารณาหาแนวทางแก้ไขต่อไปจากนั้นลงพื้นที่ดูสภาพน้ำและปริมาณน้ำในเขื่อน
          นายประภัตรกล่าวว่าการลงพื้นที่ในวันนี้เพื่อรับฟังสถานการณ์น้ำและร่วมกันกับทุกภาคส่วนหาแนวทางแก้ไขปัญหาจากที่รับฟังรายงานพบว่าสถานการณ์น้ำในเขื่อนทั้งสองอยู่ในเกณฑ์น้อยซึ่งยังน่าเป็นห่วงโดยน้ำในเขื่อนภูมิพลขณะนี้เหลือน้ำใช้การได้892 ล้านลบ.ม. หรือ9.2% น้อยกว่าปีที่แล้ว2,553 ล้านลบ.ม. หรือ74% และน้อยกว่าค่าเฉลี่ยแก้ปัญหาภัยแล้ง,984 ล้านลบ.ม. หรือ69% ถือว่าอยู่ในเกณฑ์น้อยมีปริมาณน้ำไหลเข้าเขื่อนตั้งแต่แก้ปัญหาภัยแล้ง ม.ค. – แก้ปัญหาภัยแล้ง8 ก.ค. 62 รวม3การกระทรวงเกษตรและสหกรณ์3 ล้านลบ.ม.ใกล้เคียงกับสถานการณ์น้ำไหลเข้าเขื่อนปี2536, 254แก้ปัญหาภัยแล้ง และ2558 ซึ่งเป็นปีที่มีปริมาณน้ำไหลเข้าเขื่อนตลอดทั้งปีเพียง2,382 แก้ปัญหาภัยแล้ง,47การกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และ แก้ปัญหาภัยแล้ง,89แก้ปัญหาภัยแล้ง ล้านลบ.ม. ตามลำดับปริมาณน้ำระบาย23 ล้านลบ.ม.ต่อวัน(ณวันที่แก้ปัญหาภัยแล้ง8 กค62) คาดการณ์ว่าจะเหลือน้ำใช้ได้อีก4การกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กว่าวันอย่างไรก็ตามยังไม่ประกาศให้งดใช้น้ำแต่จะใช้ระบบชะลอการสูบน้ำคือสูบ3 วันหยุด4 วันทั้งนี้หากไม่มีฝนตกลงมาจะส่งผลกระทบต่อการปลูกข้าวของชาวนาที่ปลูกไปแล้วการจัดสรรน้ำครั้งนี้จึงต้องทำอย่างมีระบบโดยบูรณาการทุกฝ่ายทั้งฝ่ายปกครองผู้ว่าว่าราชการจังหวัดเกษตรและสหกรณ์จังหวัดรวมถึงชาวบ้านที่ต้องประชาสัมพันธ์ให้เข้าใจเพื่อลดความเสียหายในการเพาะปลูกที่สำคัญต้องใช้ระบบหมุนเวียนเพื่อให้น้ำไปลงไปถึงเขื่อนเจ้าพระยาและกระจายน้ำไปถึงลุ่มน้ำเจ้าพระยาได้จึงต้องความร่วมมือจากจังหวัดต้นทางคือกำแพงเพชรและนครสวรรค์ให้ชะลอการสูบน้ำลง 
          "เชื่อว่าปริมาณน้ำจะมีเพียงพอตลอดฤดูนี้ซึ่งต้องขอความร่วมมือจากเกษตรกรให้ใช้น้ำอย่างประหยัดและมีระเบียบโดยสลับการใช้น้ำการประชุมกันในวันนี้ก็เพื่อชี้แจงให้พี่น้องเกษตรกรได้ทราบข้อมูลที่ถูกต้องเพราะหากไม่มีฝนก็อย่าเพิ่งทำนาต้องชะลอไปก่อนส่วนจะมีการแก้ไขอย่างไรนั้นจะนำการประชุมพิจารณาในวันนี้ไปหารือกับนายกรัฐมนตรีในฐานะประธานคณะกรรมการทรัพยากรน้ำ(กนช.) และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์เพื่อหาแนวทางแก้ไขต่อไปหากบูรณาการทุกฝ่ายมาช่วยกันเชื่อว่าสำเร็จแน่นอน" นายประภัตรกล่าว
          สำหรับสถานการณ์และการบริหารจัดการน้ำลุ่มเจ้าพระยา(4 เขื่อนหลัก) มีปริมาณน้ำใช้การรวมแก้ปัญหาภัยแล้ง,56การกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ล้านลบ.ม. (ณวันที่แก้ปัญหาภัยแล้ง9 กค62) แบ่งเป็นแก้ปัญหาภัยแล้ง) เขื่อนภูมิพลมีปริมาณน้ำเก็บกัก4,692 ล้านลบ.ม. ปริมาณน้ำใช้การ892 ล้านลบ.ม. 2) เขื่อนสิริกิติ์ มีปริมาณน้ำเก็บกัก3,373 ล้านลบ.ม. ปริมาณน้ำที่นำมาใช้ได้523 ล้านลบ.ม. 3) เขื่อนแควน้อยบำรุงแดน มีปริมาณน้ำเก็บกักแก้ปัญหาภัยแล้ง44 ล้านลบ.ม. ปริมาณน้ำที่นำมาใช้ได้แก้ปัญหาภัยแล้งการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์แก้ปัญหาภัยแล้ง ล้านลบ.ม. 4) เขื่อนป่าสักชลสิทธิ์ มีปริมาณน้ำเก็บกัก47 ล้านลบ.ม. ปริมาณน้ำใช้การ44 ล้านลบ.ม. ส่วนแผนจัดสรรน้ำตลอดฤดูฝนปี2562 ตั้งแต่แก้ปัญหาภัยแล้ง พ.ค. 62 - 3แก้ปัญหาภัยแล้ง ต.ค. 62 ใน4 เขื่อนหลักลุ่มเจ้าพระยาปริมาณ4,4การกระทรวงเกษตรและสหกรณ์การกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ล้านลบ.ม. ปัจจุบันจัดสรรน้ำไปแล้ว3,7แก้ปัญหาภัยแล้ง6 ล้านลบ.ม. คิดเป็น84% คงเหลือจากแผน684 ล้านลบ.ม. คิดเป็นแก้ปัญหาภัยแล้ง6% เพาะปลูกข้าวฤดูฝนไปแล้ว6.2แก้ปัญหาภัยแล้ง ล้านไร่จากแผน7.65 ล้านไร่คิดเป็น8แก้ปัญหาภัยแล้ง.แก้ปัญหาภัยแล้ง4% 
          ด้านนายธรรมนัสกล่าวเพิ่มเติมว่าในส่วนของปัญหาภัยแล้งที่เกิดฝนทิ้งช่วงหากมุ่งแต่เรื่องชลประทานอย่างเดียวไม่ได้ทุกภาคส่วนต้องร่วมแก้ปัญหาอย่างจริงจังโดยเฉพาะการเติมฝนกรมฝนหลวงฯต้องบูรณาการร่วมกับกองทัพบกกองทัพอากาศกองทัพเรือและสำนักงานตำรวจแห่งชาติเพื่อแก้ปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพต้องช่วยกันคิดว่าจะทำอย่างไรถึงเติมน้ำลงมาได้โดยจะนำเรื่องนี้หารือกับนายกฯและรองนายกฝ่ายความมั่นคงเพื่อให้เกิดการบูรณาการอย่างแท้จริง.
 
 

ข่าวการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์+กระทรวงเกษตรและสหกรณ์วันนี้

รองฯ กาญจนา ร่วมเปิดงานมหกรรม จากพันธุกรรม สู่ความยั่งยืน

นางกาญจนา แดงรุ่งโรจน์ รองเลขาธิการสำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.) ร่วมเปิดงานมหกรรม "จากพันธุกรรม สู่ความยั่งยืน" โดยมี นายอิทธิ ศิริลัทธยากร รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็นประธานในพิธีเปิดงานดังกล่าว ณ พิพิธภัณฑ์เกษตรเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จ.ปทุมธานี ภายในงานมีการแสดงนิทรรศการเทิดพระเกียรติฯ ของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และภาคีความร่วมมือ ภาครัฐและเอกชนที่ดำเนินงานสนองพระราชปณิธานด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรไทย พร้อมมอบเกียรติบัตร

"กลุ่มเหล็กสหวิริยา" (SSI-TCRSS-TCS-WCE-B... เหล็กสหวิริยาพัฒนาประมงบางสะพานยั่งยืน ผนึกกำลังเครือข่ายประมง-ทิ้งซั้งบอกรักทะเล — "กลุ่มเหล็กสหวิริยา" (SSI-TCRSS-TCS-WCE-BSBM-PPC) เครือข่ายชาวประมงบาง...

สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาต... มกอช.ร่วมงานวันเกษตรภาคอีสาน ประจำปี 2568 — สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.) ร่วมจัดนิทรรศการ ในงานวันเกษตรภาคอีสาน ประจำปี 2568 ภายใต้...

ศ.ดร.นฤมล ภิญโญสินวัฒน์ รัฐมนตรีว่าการกระ... ปักหมุด เตรียมเช็คอิน ร่วมส่งความสุขปีใหม่มอบให้เกษตรกร ปี 2568 กับกรมส่งเสริมการเกษตร — ศ.ดร.นฤมล ภิญโญสินวัฒน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ดำเนิ...

นายรพีภัทร์ จันทรศรีวงศ์ อธิบดีกรมวิชาการ... กรมวิชาการเกษตร นำร่องสร้างกลุ่มแปลงใหญ่ทุเรียนอินทรีย์แห่งแรกในภาคตะวันออก — นายรพีภัทร์ จันทรศรีวงศ์ อธิบดีกรมวิชาการเกษตร เปิดเผยว่า กรมวิชาการเกษตร เล...

"รมว.นฤมล" เร่งผลักดันจัดทำข้อเสนอกรอบนโย... รมว.นฤมล ผลักดันกฎระเบียบว่าด้วยสินค้าที่ปลอดจากการตัดไม้ทำลายป่าของสหภาพยุโรป (EUDR) — "รมว.นฤมล" เร่งผลักดันจัดทำข้อเสนอกรอบนโยบายระดับชาติในการปฏิบัติต...

"รมว.นฤมล"นำทีมกระทรวงเกษตรฯ ลงพื้นที่นคร... รมว.นฤมล ลงพื้นที่นครศรีธรรมราช มอบถุงยังชีพ บรรเทาความเดือดร้อนประชาชน — "รมว.นฤมล"นำทีมกระทรวงเกษตรฯ ลงพื้นที่นครศรีธรรมราช มอบถุงยังชีพ บรรเทาความเดือด...