"ดีป้า" ดันผู้ประกอบการดิจิทัลจดทรัพย์สินทางปัญญา ผ่าน IP Voucher

          สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล (ดีป้า) นำร่องดัน 9 ผู้ประกอบการยื่นจดทรัพย์สินทางปัญญาด้านดิจิทัล เพื่อสร้างระบบนิเวศน์ที่สมบูรณ์ รวมถึงสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจแบบก้าวกระโดดให้กับประเทศได้อย่างเป็นรูปธรรม ผ่านมาตรการคูปองดิจิทัล (depa Intellectual Property Voucher)
          ดร.ณัฐพล นิมมานพัชรินทร์ ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล (ดีป้า) กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม กล่าวว่า เมื่อวันที่ สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล3 ธันวาคม 256สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล คณะอนุกรรมการพิจารณาการส่งเสริมและสนับสนุน ประกอบด้วยผู้แทนกระทรวงอุตสาหกรรม ผู้แทนสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ผู้ทรงคุณวุฒิด้านการเงิน ผู้ทรงคุณวุฒิด้านกฎหมาย ได้พิจารณาอนุมัติให้การส่งเสริมและสนับสนุน สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม โครงการ เพื่อยื่นจดสิทธิบัตรทั้งในและต่างประเทศ ได้แก่ โรงเรือนเกษตรดิจิทัล การพัฒนาระบบเทคโนโลยี AI in a box เพื่อการทดสอบมาตรฐานไฟฟ้า ระบบบริหารทรัพยากรบุคคลแบบ Self Service การพัฒนาแพลตฟอร์มของวงดนตรีถูกลิขสิทธิ์ ระบบการติดตามและจัดเก็บสินค้ากลางแจ้งแบบแม่นยำด้วยเทคโนโลยี IoT เป็นต้น ซึ่งดีป้าได้อุดหนุนคูปองดิจิทัลรายละ สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม,กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม บาท รวมเป็นวงเงินสนับสนุนกว่า สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล,กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม,กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม บาท ให้กับผู้ประกอบการSME ด้านดิจิทัลทั้ง 9 ราย ประกอบด้วยบริษัท ฟาร์มดี เอเชีย จำกัด, บริษัท เอเซนเทค (ประเทศไทย) จำกัด, บริษัท เอ็กซ์ซี จำกัด, บริษัท ไพน์แอปเปิ้ลวิชั่นซิสเต็มส์ จำกัด, บริษัท มายเอชอาร์ จำกัด, บริษัท มาย แบรนด์ คอร์เปอร์เรชั่น จำกัด, บริษัท เทคโลจิสติกส์ เอ็นเตอร์ไพรส์ จำกัด, บริษัท ซีซีทีวี (ประเทศไทย) จำกัด และบริษัท เซ็นโทรวิชัน จำกัด
          ดีป้า คาดหวังว่าการนำร่องมาตรการคูปองดิจิทัลดังกล่าวจะเป็นการกระตุ้นการจดสิทธิบัตรด้านดิจิทัลของประเทศไทยให้มีจำนวนเพิ่มขึ้น โดยในปีที่ผ่านมา มีคำขอจดสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร จำนวนเพียง กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม.4% ของคำขอจดสิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตรทั้งหมดในประเทศ ซึ่งสำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล เล็งเห็นว่าการสนับสนุนให้เกิดการจดสิทธิบัตร จะช่วยเพิ่มนวัตกรรมของอุตสาหกรรมด้านดิจิทัลในประเทศไทย และยังช่วยยกระดับอันดับของประเทศไทย ในการจัดอันดับประเทศด้านที่เกี่ยวข้องกับทรัพย์สินทางปัญญาในอนาคต สอดคล้องกับขับเคลื่อนประเทศไทยสู่ไทยแลนด์ 4.กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม เพื่อก้าวสู่การเปลี่ยนเศรษฐกิจ Value–Based Economy หรือเศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรมอีกด้วย
"ดีป้า" ดันผู้ประกอบการดิจิทัลจดทรัพย์สินทางปัญญา ผ่าน IP Voucher
 
"ดีป้า" ดันผู้ประกอบการดิจิทัลจดทรัพย์สินทางปัญญา ผ่าน IP Voucher
 

ข่าวกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม+สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลวันนี้

ดีอี- depa ร่วม ส.กีฬาเครื่องบินจำลองและวิทยุบังคับ บุกสุพรรณบุรี หาสุดยอดโดรนเกษตร พื้นที่ภาคกลางและตะวันตก ร่วมชิงแชมป์ระดับประเทศ "Thailand Agriculture Drone Competition 2024"

กระทรวงดีอี โดย depa จัดการแข่งขันบิน ซ่อมโดรนเพื่อการเกษตร รอบคัดเลือกระดับภูมิภาค (ภาคกลางและตะวันตก) เพื่อเฟ้นหาสุดยอดทีมเข้าร่วมแข่งขันรอบชิงแชมป์ประเทศไทยในรายการ Thailand Agriculture Drone Competition 2024 ภายใต้โครงการ 1 ตำบล 1 ดิจิทัล (ชุมชนโดรนใจ) โดยมี สมาคมกีฬาเครื่องบินจำลองและวิทยุบังคับ ร่วมตัดสิน กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (กระทรวงดีอี) โดย สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล (depa) ร่วมกับ จังหวัดสุพรรณบุรี, สมาคมกีฬาเครื่องบินจำลองและวิทยุบังคับ และเครือข่ายพันธมิตรจัดการ

กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (ดีอี... ดีอี-ดีป้า ล่องใต้ จ.สุราษฎร์ธานี คิกออฟ Thailand Agriculture Drone Competition 2024 — กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (ดีอี) โดย สำนักงานส่งเสริมเศรษ...

นายประเสริฐ จันทรรวงทอง (ที่ 4 จากซ้าย) ร... พัฒนากำลังคนดิจิทัล — นายประเสริฐ จันทรรวงทอง (ที่ 4 จากซ้าย) รัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม พร้อมด้วย ผศ.ดร.ณัฐพล นิมมานพัชรินทร์ ...