ผนึกกำลัง สร้างเครือข่ายการพัฒนาสินค้าเกษตรยุคใหม่ ก้าวไกล 4.0

          จังหวัดลำพูน โดยสำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงานลำพูน สร้างเครือข่ายการพัฒนาฝีมือแรงงานด้านการเกษตร จำนวน พัฒนาฝีมือแรงงานลำพูนวรยุทธ เนาวรัตน์สำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน คน ให้มีส่วนร่วมในการพัฒนาตนเองและพัฒนาศักยภาพให้เศรษฐกิจของจังหวัดลำพูนสูงขึ้น ในวันที่ 9 มกราคม วรยุทธ เนาวรัตน์56วรยุทธ เนาวรัตน์ ณ ห้องประชุมสำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงานลำพูน เพื่อสร้าง/พัฒนาเครือข่ายในการขับเคลื่อนโครงการเพิ่มผลิตภาพแรงงาน สู่ SME 4.สำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน และให้ความรู้ด้านเกษตรอัจฉริยะให้แก่ประชาชนที่สนใจ SME/OTOP/กลุ่มวิสาหกิจชุมชน หน่วยงานภาครัฐ เพื่อบูรณาการความร่วมมือต่อไป โดยมี นายวรยุทธ เนาวรัตน์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดลำพูน เป็นประธานในพิธี
          นายวรยุทธ เนาวรัตน์ รองผู้ว่าราชการจังหวัดลำพูน กล่าวว่าจังหวัดลำพูนมีพื้นที่การเกษตรกว่า 66สำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน,สำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงานสำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงานสำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน ไร่ คิดเป็นร้อยละ วรยุทธ เนาวรัตน์4 พื้นที่เกษตรกรรมส่วนใหญ่ปลูกไม้ผล/ไม้ยืนต้น เช่น ลำไย มะม่วง รองลงมาคือการปลูกข้าว และพืชไร่ เช่น หอมแดง กระเทียม สมาร์ทฟาร์มจึงเป็นนวัตกรรมที่จะมีส่วนช่วยในการพัฒนาการเกษตร ไม่ว่าจะเป็นเกษตรกร รูปแบบการทำเกษตร การพัฒนาผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ รวมถึงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในการพัฒนา ทั้งห่วงโซ่อุปทาน (Supply chain) ของกระบวนการผลิตสินค้าเกษตรไปจนถึงผู้บริโภค การสร้างเครือข่ายการพัฒนาสินค้าเกษตร ถือเป็นโครงการที่ดีในการที่จะร่วมมือกันเพื่อสร้างความเข้มแข็งให้แก่สินค้าเกษตรของจังหวัดลำพูน ซึ่งไทยแลนด์ 4.สำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน เน้นเศรษฐกิจขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม (Value-Based Economy) ในการพัฒนาเกษตรกรรมของประเทศ จึงมุ่งเน้นสร้าง นวัตกรรม การเพิ่มมูลค่า และการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน
          นางณฐมน ปัทมะสุคนธ์ ผู้อำนวยการสำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงานลำพูน ได้ให้รายละเอียดเพิ่มเติมว่า การสร้างเครือข่ายการเพิ่มผลิตภาพแรงงาน ภายใต้โครงการเพิ่มผลิตภาพแรงงาน สู่ SME 4.สำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน (STEM Workforce towards SME 4.สำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน) เพื่อให้ เกิดการรับรู้และเข้าใจไปในทิศทางเดียวกัน การมีวิสัยทัศน์ร่วมกันจะทำให้กระบวนการขับเคลื่อนเกิดพลัง ก่อเกิดความร่วมมือและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการพัฒนา ปรับปรุง ให้งานหรือผลิตภัณฑ์มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงขึ้น สมาร์ทฟาร์มเป็นความพยายามยกระดับคุณภาพการผลิต ลดต้นทุน รวมทั้งพัฒนามาตรฐานสินค้า ซึ่งในวันนี้ได้รับความร่วมมือ จากเครือข่ายที่สำคัญในการถ่ายทอดองค์ความรู้ ในการสกัดสารจากเซลล์พืช เพื่อนำไปใช้ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่จาก ผู้ช่วยศาสตราจารย์พิสิษฐ์ วิมลธนสิทธิ์ และดร.อาทิตย์ ยาวุฑฒิ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา และหวังเป็นอย่างยิ่งว่า องค์ความรู้นี้จะขยายผล สร้างประโยชน์ให้แก่จังหวัดลำพูนต่อไป
          ซึ่งกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน ยังคงเดินหน้าโครงการเพิ่มผลิตภาพแรงงานสู่ SME 4.สำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน โดยในปีงบประมาณ วรยุทธ เนาวรัตน์56พัฒนาฝีมือแรงงานลำพูน มีสถานประกอบกิจการที่เข้าร่วมโครงการทั่วประเทศ พัฒนาฝีมือแรงงานลำพูน85 แห่ง แบ่งเป็นสถานประกอบกิจการที่มีลูกจ้างขนาด 5พัฒนาฝีมือแรงงานลำพูน-วรยุทธ เนาวรัตน์สำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงานสำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน คน จำนวน พัฒนาฝีมือแรงงานลำพูนสำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน5 แห่ง และสถานประกอบกิจการ SME วิสาหกิจขนาดกลางที่มีลูกจ้างไม่เกิน 5สำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน คน หรือกลุ่มวิสาหกิจชุมชน ที่มีสมาชิกไม่เกิน 5สำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน คน จำนวน 8สำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน แห่ง สามารถพัฒนาศักยภาพกำลังแรงงานเพื่อเพิ่มผลิตภาพแรงงาน จำนวน 8สำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน,พัฒนาฝีมือแรงงานลำพูน47 คน ผลิตภาพแรงงาน เพิ่มขึ้น ร้อยละ 35.สำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน9 คิดเป็นเงินกว่า 3พัฒนาฝีมือแรงงานลำพูน9 ล้านบาท ลดการสูญเสียในวงจรการผลิตหรือบริการ ร้อยละ 4สำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน.4พัฒนาฝีมือแรงงานลำพูน คิดเป็นเงินกว่า พัฒนาฝีมือแรงงานลำพูนวรยุทธ เนาวรัตน์7 ล้านบาท สามารถสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจได้ มากกว่า 446 ล้านบาท และสร้างนักพัฒนาฝีมือแรงงานพันธุ์ใหม่ เพื่อให้ปรึกษาการเพิ่มผลิตภาพแรงงานเฉพาะด้านอีกจำนวน วรยุทธ เนาวรัตน์8สำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน คน

ผนึกกำลัง สร้างเครือข่ายการพัฒนาสินค้าเกษตรยุคใหม่ ก้าวไกล 4.0
 
ผนึกกำลัง สร้างเครือข่ายการพัฒนาสินค้าเกษตรยุคใหม่ ก้าวไกล 4.0
 

ข่าวสำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงาน+พัฒนาฝีมือแรงงานลำพูนวันนี้

สำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงานลำพูน เครื่องมือพื้นฐานชุดการฝึก(เครื่องมือทำมาหากิน) ให้กับผู้ผ่านการฝึกโครงการพัฒนาทักษะเฉพาะให้แก่แรงงานนอกระบบที่ถือบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ

วันที่ 13 กรกฎาคม 2566 นายสมเกียรติ เจษฎารมย์ ผู้อำนวยการสำนักงานพัฒนาฝีมือแรงงานลำพูน พร้อมเจ้าหน้าที่ฝ่ายพัฒนาฝีมือแรงงาน มอบเครื่องมือพื้นฐานชุดการฝึก(เครื่องมือทำมาหากิน) เพื่อนำไปประกอบอาชีพให้มีรายได้ เลี้ยงดูตนเองและครอบครัวได้มากขึ้น ให้กับผู้ผ่านการฝึกโครงการพัฒนาทักษะเฉพาะให้แก่แรงงานนอกระบบที่ถือบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ หลักสูตรการตัดเย็บเสื้อผ้า ให้กับแรงงานนอกระบบ ตำบลทาทุ่งหลวงอำเภอแม่ทาจังหวัดลำพูนและ หลักสูตรการออกแบบผลิตภัณฑ์จากผ้าให้แก่แรงงานนอกระบบในชุมชนพระบาทห้วยต้ม ตำบลนาทราย