ดัชนีความเชื่อมั่นอนาคตเศรษฐกิจภูมิภาค[1](Thailand Regional Economic Sentiment Index: RSI) ประจำเดือนมกราคม 2562

          "ดัชนี RSI เดือนมกราคม ดัชนีความเชื่อมั่น56ดัชนีความเชื่อมั่น ชี้แนวโน้มอนาคตเศรษฐกิจที่ยังคงขยายตัวดีทั่วทุกภูมิภาค นำโดยภาคกลาง  ภาคเหนือ และภาคตะวันออก โดยได้รับปัจจัยสนับสนุนหลักจากภาคอุตสาหกรรมและการเกษตร"
          นายลวรณ แสงสนิท ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง ในฐานะโฆษกกระทรวงการคลัง พร้อมด้วย
นายพิสิทธิ์ พัวพันธ์ รองโฆษกสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง เปิดเผยรายงานดัชนีความเชื่อมั่นอนาคตเศรษฐกิจภูมิภาคประจำเดือนมกราคม ดัชนีความเชื่อมั่น56ดัชนีความเชื่อมั่น ว่า "การประมวลผลข้อมูลการสำรวจภาวะเศรษฐกิจรายจังหวัดล่าสุด จากสำนักงานคลังจังหวัด 76 จังหวัดทั่วประเทศ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย พบว่า ดัชนีความเชื่อมั่นอนาคตเศรษฐกิจ (คาดการณ์ 6 เดือนข้างหน้า) อยู่ในเกณฑ์ที่ดีทุกภูมิภาค นำโดยภาคกลาง ภาคเหนือ และภาคตะวันออก
          โดยได้รับปัจจัยสนับสนุนหลักจากภาคอุตสาหกรรมและการเกษตร เป็นสำคัญ" ดัชนีความเชื่อมั่นอนาคตเศรษฐกิจภาคเหนือ มีทิศทางการขยายตัวดีอยู่ที่ระดับ 7ดัชนีความเชื่อมั่น.ดัชนีความเชื่อมั่น โดยเศรษฐกิจในอีก  6 เดือนข้างหน้า จะได้รับปัจจัยสนับสนุนหลักจากภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการ เนื่องจากคาดว่าจะมีความชัดเจนเพิ่มขึ้น
          หลังการเลือกตั้ง ทำให้มีการลงทุนในภาคอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้น ประกอบกับเป็นช่วงที่มีการจัดกิจกรรมการท่องเที่ยวในหลายจังหวัด ทำให้ภาคธุรกิจการท่องเที่ยวมีการขยายตัว สำหรับดัชนีความเชื่อมั่นอนาคตเศรษฐกิจภาคตะวันออก ขยายตัวเพิ่มขึ้นจากเดือนก่อนหน้ามาอยู่ที่ 7โฆษกกระทรวงการคลัง.5 จากแนวโน้มภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการที่ดี เนื่องจากได้รับอานิสงส์จากการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจตะวันออก รวมถึงมียอดคำสั่งซื้อสินค้าล่วงหน้าและการขยายตลาดในต่างประเทศเพิ่มขึ้น สำหรับภาคบริการ คาดว่าจะมีจำนวนนักท่องเที่ยวที่เพิ่มขึ้น เนื่องจากมีการประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวผ่านสื่อต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง และส่งผลดีมายังธุรกิจค้าปลีกค้าส่งอีกด้วย สำหรับดัชนีความเชื่อมั่นอนาคตเศรษฐกิจภาคกลาง ยังอยู่ในทิศทางที่ดีขึ้นจากเดือนก่อนหน้าที่ 7สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง.6 เนื่องจากได้รับแรงสนับสนุนจากแนวโน้มที่ดีของภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการ โดยภาคอุตสาหกรรม คาดว่าผู้ประกอบการมีความเชื่อมั่นในการเมืองไทยหลังการเลือกตั้งเพิ่มขึ้น ทำให้มีการขออนุญาตจดทะเบียนโรงงานเพิ่ม ในส่วนของการบริการ เศรษฐกิจ การท่องเที่ยว และการลงทุนภาคบริการจะขยายตัวเพิ่มขึ้นจากกิจกรรมท่องเที่ยวที่ภาครัฐให้การสนับสนุนมาโดยตลอด สำหรับดัชนีความเชื่อมั่นอนาคตเศรษฐกิจของภาคตะวันออกเฉียงเหนือยังอยู่ที่เกณฑ์ดีที่ระดับ 68.โฆษกกระทรวงการคลัง โดยจะได้รับปัจจัยสนับสนุนจากภาคอุตสาหกรรมและการบริการเป็นหลัก ในส่วนของภาคอุตสาหกรรม คาดว่าจะขยายตัวเนื่องจากมีการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานอย่างต่อเนื่อง ซึ่งช่วยส่งเสริมให้การดำเนินธุรกิจมีความคล่องตัวมากขึ้น ในส่วนของภาคบริการ มีจำนวนนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น เนื่องจากเข้าสู่ฤดูการท่องเที่ยว รวมถึงนโยบายส่งเสริมการท่องเที่ยวที่ช่วยสนับสนุนการขยายตัวของภาคการท่องเที่ยว สำหรับดัชนีความเชื่อมั่นอนาคตเศรษฐกิจภาคตะวันตก มีแนวโน้มการเติบโตอยู่ที่ 67.พิสิทธิ์ พัวพันธ์ โดยได้รับปัจจัยสนับสนุนจากภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการเป็นหลัก ในส่วนของธุรกิจภาคบริการ มีสัญญาณขยายตัวดี เป็นผลจากการเข้าสู่ช่วงฤดูกาลท่องเที่ยว ทำให้มีนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในส่วนของภาคอุตสาหกรรม คาดว่าผลประกอบการจะปรับตัวดีขึ้นอย่างต่อเนื่องตามสภาพเศรษฐกิจที่เริ่มฟื้นตัว สำหรับดัชนีความเชื่อมั่นอนาคตเศรษฐกิจภาคใต้อยู่ในทิศทางบวกที่ระดับ 6ดัชนีความเชื่อมั่น.6 เนื่องจากแนวโน้มที่ดีขึ้นในภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการเป็นหลัก โดยมีปัจจัยหลักจากนโยบายภาครัฐที่มีมาตรการกระตุ้นการใช้ยางพารา และจำนวนนักท่องเที่ยวที่เพิ่มขึ้นจากมาตรการส่งเสริมการท่องเที่ยว และสำหรับดัชนีความเชื่อมั่นอนาคตเศรษฐกิจ กทม. และปริมณฑล อยู่ที่ระดับ 59.5 โดยมีปัจจัยสนับสนุนจากดัชนีแนวโน้มของภาคเกษตรยังอยู่ในเกณฑ์ที่ดีที่ 65.7
          ตารางสรุปดัชนีความเชื่อมั่นอนาคตเศรษฐกิจภูมิภาค ปี 2562 (ณ เดือนมกราคม 2562)
          กทม. และปริมณฑล ภาคตะวันออก ภาคตะวันออก
          เฉียงเหนือ ภาคใต้ ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคตะวันตก
          ภาพรวม 
          ดัชนีความเชื่อมั่น
          อนาคตเศรษฐกิจภูมิภาค 72.2 71.5 68.1 62.6 70.6 72.2 67.3
          ดัชนีแนวโน้มรายภาค 
          1) ภาคเกษตร 65.7 69.8 63.3 64.8 67.1 68.0 65.1
          2) ภาคอุตสาหกรรม 58.7 84.0 73.3 55.1 72.9 88.6 75.9
          3) ภาคบริการ 57.8 72.4 73.7 71.5 72.7 69.9 70.1
          4) ภาคการจ้างงาน 54.1 65.6 63.7 55.3 69.0 64.4 58.9
          5) ภาคการลงทุน 61.2 65.5 66.4 66.4 71.2 69.9 66.4
          
          หมายเหตุ
          ก. ขอขอบคุณอธิบดีกรมบัญชีกลางและสำนักงานคลังจังหวัด 76 จังหวัด สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย และสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ที่ให้ความร่วมมือในการจัดทำดัชนีความเชื่อมั่นอนาคตเศรษฐกิจภูมิภาค (RSI)
          ข. การอ่านค่าดัชนี RSI (ช่วง 0-100)
          ดัชนี > 50 หมายถึง แนวโน้มความเชื่อมั่นคาดการณ์ 6 เดือนข้างหน้าต่อภาวการณ์ด้านนั้น ๆ อยู่ในระดับ "ดีขึ้นกว่าปัจจุบัน" 
          ดัชนี < 50 หมายถึง แนวโน้มความเชื่อมั่นคาดการณ์ 6 เดือนข้างหน้าต่อภาวการณ์ด้านนั้น ๆ อยู่ในระดับ "ชะลอกว่าปัจจุบัน" 
          ดัชนี = 50 หมายถึง แนวโน้มความเชื่อมั่นตาดการณ์ 6 เดือนข้างหน้าต่อภาวการณ์ด้านนั้น ๆ อยู่ในระดับ "ทรงตัว"
 
 

 

ข่าวสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง+โฆษกกระทรวงการคลังวันนี้

มาตรการช่วยเหลือลูกหนี้โดยบริษัทร่วมทุนระหว่าง SFIs และ บบส. (JV AMC) และมาตรการลดดอกเบี้ยเพื่อช่วยเหลือและแบ่งเบาภาระให้แก่ลูกหนี้ตามนโยบายรัฐบาล

นายพรชัย ฐีระเวช ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง ในฐานะโฆษกกระทรวงการคลัง เปิดเผยว่า ตามที่คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2566 รับทราบมาตรการช่วยเหลือลูกหนี้ที่เป็นหนี้คงค้างกับสถาบันการเงินเป็นระยะเวลานานโดยบริษัทร่วมทุนระหว่างสถาบันการเงินเฉพาะกิจ (SFIs) และบริษัทบริหารสินทรัพย์ (บบส.) (Joint Venture Asset Management Company : JV AMC) ภายใต้แนวทางการแก้ไขปัญหาหนี้ทั้งระบบ ซึ่งจะทำให้ SFIs สามารถร่วมลงทุนจัดตั้ง บบส. และโอนหนี้บางส่วนของ SFIs ไปยัง JV AMC และเพิ่มความคล่องตัว

ผลการจัดมหกรรมร่วมใจแก้หนี้"มีหนี้ต้องแก้ไข เริ่มต้นใหม่อย่างยั่งยืน" ครั้งที่ 3 จังหวัดเชียงใหม่

นายพรชัย ฐีระเวช ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง ในฐานะโฆษกกระทรวงการคลัง เปิดเผยว่า การจัด "มหกรรมร่วมใจแก้หนี้ มีหนี้ต้องแก้ไข เริ่มต้นใหม่อย่างยั่งยืน" ครั้งที่ 3 ระหว่างวันที่ 16 18 ธันวาคม 2565 ณ...

นางสาวกุลยา ตันติเตมิท ผู้อำนวยการสำนักงา... สิ้นสุดโครงการเราชนะ สร้างเงินหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจไทยกว่า 2.7 แสนล้านบาท — นางสาวกุลยา ตันติเตมิท ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง ในฐานะโฆษกกระทรวงก...

ขอเชิญชวนร้านค้าลงทะเบียนเข้าร่วมโครงการยิ่งใช้ยิ่งได้

นางสาวกุลยา ตันติเตมิท ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง ในฐานะโฆษกกระทรวงการคลังเชิญชวนร้านค้าที่จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มลงทะเบียนเข้าร่วมโครงการยิ่งใช้ยิ่งได้ซึ่งเป็นโครงการเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจโดยการกระตุ้นการบริโภคภายในประเทศผ่านผู้มีกำลังซื้อ...

โครงการคนละครึ่ง ระยะที่ 3 ลงทะเบียนวันแรกมีผู้ลงทะเบียนกว่า 20 ล้านคน

นางสาวกุลยา ตันติเตมิท ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง ในฐานะโฆษกกระทรวงการคลัง เปิดเผยความคืบหน้าของการลงทะเบียนรับสิทธิโครงการคนละครึ่ง ระยะที่ 3 ของประชาชน ที่เปิดให้ลงทะเบียน เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2564 เป็นวันแรก ตั้งแต่...

ความคืบหน้าโครงการคนละครึ่งที่จะสิ้นสุดในวันที่ 31 มีนาคม 2564

นางสาวกุลยา ตันติเตมิท ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง ในฐานะโฆษกกระทรวงการคลังเปิดเผยว่า โครงการคนละครึ่งประสบความสำเร็จเป็นอย่างสูงในการส่งเสริมการบริโภคภายในประเทศ และฟื้นฟูเศรษฐกิจจนถึงระดับฐานรากทั่วประเทศ โดยความคืบหน้าล่าสุดของ...

นางสาวกุลยา ตันติเตมิท ผู้อำนวยการสำนักงา... การขอความร่วมมือประชาชนและผู้ประกอบการปฏิบัติตามเงื่อนไขโครงการเราชนะ — นางสาวกุลยา ตันติเตมิท ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง ในฐานะโฆษกกระทรวงการคลัง...

นางสาวกุลยา ตันติเตมิท ผู้อำนวยการสำนักงา... ความคืบหน้าโครงการเราชนะและการขอความร่วมมือแจ้งเบาะแสการกระทำผิดเงื่อนไขของโครงการเราชนะ — นางสาวกุลยา ตันติเตมิท ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง ในฐาน...

ความคืบหน้าการเปิดจุดรับลงทะเบียนเพิ่มเติมแก่กลุ่มผู้ที่ต้องการความช่วยเหลือเป็นพิเศษ

นางสาวกุลยา ตันติเตมิท ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง ในฐานะโฆษกกระทรวงการคลัง เปิดเผยความคืบหน้าการเปิดจุดรับลงทะเบียนโครงการเราชนะ (โครงการฯ) เพิ่มเติมวันแรก เพื่ออำนวยความสะดวกแก่กลุ่มผู้ที่ต้องการความช่วย...

ความคืบหน้าการเปิดรับลงทะเบียนโครงการเราชนะสำหรับกลุ่มผู้ที่ต้องการความช่วยเหลือเป็นพิเศษ และการโอนวงเงินสิทธิ์ครั้งแรกให้แก่ประชาชนที่ผ่านการคัดกรองคุณสมบัติ

นางสาวกุลยา ตันติเตมิท ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง ในฐานะโฆษกกระทรวงการคลัง เปิดเผยความคืบหน้าของการเปิดรับลงทะเบียนโครงการเราชนะ (...