วันนี้ (กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ5 มกราคม กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ56กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วท.) โดยสำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี (สส.) จัดประชุมเชิงปฏิบัติการทบทวนแผน วทน. สู่ภูมิภาค (ปีงบประมาณ พ.ศ. กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ56ประชุมเชิงปฏิบัติการ – กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ564) : กลุ่มภาคเหนือ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ56กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ เดินหน้าทบทวนกรอบแนวทางขับเคลื่อนงานด้าน วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม (วทน.) สู่การพัฒนาภูมิภาค รวมถึงทบทวนแผนงานและโครงการในระยะ 4 ปี เพื่อให้คลินิกเทคโนโลยีเครือข่ายได้จัดทำข้อเสนอโครงการในปีงบประมาณ พ.ศ. กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ563 ถึง กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ564 ตามกรอบห่วงโซ่คุณค่าหลัก พร้อมทั้งสร้างการบูรณาการร่วมกันระหว่างเครือข่าย โดยได้รับเกียรติจาก ดร. อัจฉรา วงศ์แสงจันทร์ รองปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นประธานเปิดงาน นางวนิดา บุญนาคค้า ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี กล่าวรายงาน ตลอดจนผู้บริหาร อาจารย์ และผู้ประสานงานคลินิกเทคโนโลยีเครือข่ายภาคเหนือ จำนวน กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คน เข้าร่วมการปะชุม ณ อุทยานวิทยาศาสตร์ภาคเหนือ จังหวัดเชียงใหม่
ดร. อัจฉรา วงศ์แสงจันทร์ รองปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กล่าวว่า การดำเนินงานของเครือข่ายคลินิกเทคโนโลยี มีการขยายตัวครอบคลุมเกือบทุกจังหวัด รวมถึงศูนย์ประสานงานของกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ ประจำภูมิภาค นับเป็นกลไกที่สำคัญในการนำ วทน. ลงสู่พื้นที่ พร้อมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพในการเชื่อมโยงงานของส่วนกลางและพื้นที่ ให้พร้อมรับกับรูปแบบการบริหารราชการของประเทศที่ปรับไปสู่การดำเนินงานแบบบูรณาการร่วมกันทุกภาคส่วน ซึ่งถือว่าเป็นจุดสำคัญในการผลักดันไปสู่ การพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืนตามอัตลักษณ์ของแต่ละพื้นที่ โดยกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ จะร่วมสนับสนุนและผลักดันในแนวทางที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของประเทศ เพื่อสร้างความก้าวหน้าของสังคมไทยอย่างยั่งยืนต่อไป
นางวนิดา บุญนาคค้า ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี กล่าวว่า สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี ดำเนินงานถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชนโดยการนำองค์ความรู้ด้าน วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เข้าไปเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน สร้างรายได้ ลดรายจ่าย นำไปสู่คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ผ่านกลไกเครือข่ายความร่วมมือที่เรียกว่า "คลินิกเทคโนโลยี" ซึ่งในภาคเหนือมีเครือข่ายคลินิกเทคโนโลยี จำนวน กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ8 แห่ง ครอบคลุมพื้นที่ให้บริการมากกว่า ประชุมเชิงปฏิบัติการ7 จังหวัด ปัจจุปันดำเนินงานภายใต้ 4 โครงการ ได้แก่ ประชุมเชิงปฏิบัติการ.โครงการส่งเสริมการนำวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม เพิ่มศักยภาพการผลิตและเศรษฐกิจชุมชน โดยการดำเนินโครงการผู้รับบริการไม่ต่ำกว่า ประชุมเชิงปฏิบัติการกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ,กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คน มีเทคโนโลยีที่ถ่ายทอดสู่ชุมชนไม่น้อยกว่า ประชุมเชิงปฏิบัติการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เรื่อง กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ.โครงการพัฒนาผู้ประกอบการและยกระดับสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ ซึ่งยผลการดำเนินงานระหว่างปี พ.ศ. กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ56กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี – กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ56ประชุมเชิงปฏิบัติการ มีผู้ประกอบการที่ได้รับการพิจารณาจำนวน ประชุมเชิงปฏิบัติการ83 ราย กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯประชุมเชิงปฏิบัติการ5 ผลิตภัณฑ์ 3.โครงการพัฒนาต้นแบบเครื่องจักร เครื่องมือ และอุปกรณ์ เพื่อการผลิตระดับชุมชน ปัจจุบันได้มีเครื่องจักรต้นแบบเพื่อการผลิตระดับชุมชนตั้งแต่ปี กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ547 – กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ56ประชุมเชิงปฏิบัติการ รวม ประชุมเชิงปฏิบัติการ7กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เครื่อง และ 4.โครงการศูนย์ประสานงานกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประจำภูมิภาค ภาคเหนือ หรือ ศวภ.ประชุมเชิงปฏิบัติการ ซึ่งรับผิดชอบ 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน มีภารกิจในการจัดทำแผนงาน/โครงการด้าน วทน. เพื่อการพัฒนาจังหวัด
ในปีงบประมาณ พ.ศ. กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ56ประชุมเชิงปฏิบัติการ ที่ผ่านมา สส. ดำเนินการปรับกระบวนการเพื่อขับเคลื่อนงานด้วย วทน. สู่การพัฒนาพื้นที่ ให้สอดรับกับยุทธศาสตร์ชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ปี ยุทธศาสตร์การพัฒนาภาค เมือง และพื้นที่เศรษฐกิจ ผ่านความร่วมมือกับเครือข่ายคลินิกเทคโนโลยีภาคเหนือ ในการจัดทำห่วงโซ่คุณค่าด้าน วทน.เพื่อเป็นเครื่องมือในการขับเคลื่อนแผนงานด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม สู่ภูมิภาคอย่างเป็นรูปธรรม และใช้เป็นกรอบในการสนับสนุนงบประมาณ จำนวน 4 ห่วงโซ่คุณค่า ได้แก่ ประชุมเชิงปฏิบัติการ. นวัตกรรมการเพิ่มมูลค่าผลไม้ (สับปะรด ลิ้นจี่ ลำไย) กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ. การใช้ วทน. เพิ่มศักยภาพด้านการท่องเที่ยวและบริการ พื้นที่ภาคเหนือ 3. นวัตกรรมการเพิ่มมูลค่าสมุนไพรพื้นบ้านล้านนา และ 4. นวัตกรรมเพื่อการเกษตรปลอดภัย พื้นที่ภาคเหนือ
ดร.รจนา ตั้งกุลบริบูรณ์ ผอ.ศูนย์เชี่ยวชาญนวัตกรรมเกษตรสร้างสรรค์ (ศนก.) สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) กระทรวงการอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.)นายมนตรี แก้วดวง ผอ.สถานีวิจัยลำตะคอง (สลค.) พร้อมด้วยทีมนักวิจัยและวิเทศสัมพันธ์ ร่วมให้การต้อนรับ H.E. Renato U. Solidum, Jr. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (Secretary of the Department of Science and Technology : DOST) และคณะผู้แทนจากหน่วยงานภายใต้กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ ใน
นครเฉิงตูโชว์ความแข็งแกร่งทางเทคโนโลยีในงานแสดงสินค้าไฮเทค
—
นครเฉิงตู เมืองเอกของมณฑลเสฉวนทางตะวันตกเฉียงใต้ของจีน ได้แสดงให้เห็นถึงความแข็งแกร่งในด้านนว...
สกสว. ร่วมงาน STS Forum 2023 ณ เมืองเกียวโต ประเทศญี่ปุ่น ขับเคลื่อนเครือข่ายทางด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ระดับนานาชาติ
—
นางสาวศุภมาส อิศรภักดี รั...
วว. ต้อนรับรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาธารณรัฐประชาชนจีน ในโอกาสเยี่ยมชม ศึกษาดูงาน ด้านระบบราง
—
ดร.พัชทรา มณีสินธุ์ รองผู้ว่าการบ...
วว.ร่วมประชุมความร่วมมือของคณะทำงานร่วมระหว่างหน่วยงานไทยและจีน Thailand - China Working Group Meeting: WGM
—
H.E. Mr. Zhang Guangjun, รัฐมนตรีช่วยว่าการก...
การประชุมว่าด้วยความร่วมมือด้านนวัตกรรมและการถ่ายทอดเทคโนโลยีจีน-อาเซียน ครั้งที่ 11 จัดขึ้นที่เมืองหนานหนิง ประเทศจีน
—
รายงานโดย CRI Online ในช่วงเช้าวั...
นครฝูโจว มณฑลฝูเจี้ยน จัดการประชุมสุดยอด ดิจิทัล ไชนา ซัมมิต ครั้งที่ 6
—
การประชุมสุดยอด ดิจิทัล ไชนา ซัมมิต (Digital China Summit) ครั้งที่ 6 เปิดฉากขึ้...
จีน-อาเซียน สำรวจความร่วมมือด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
—
รายงานโดย CRI Online การประชุมว่าด้วยความร่วมมือด้านนวัตกรรมและการถ่ายทอดเทคโนโลยี จีน-อาเซียน ค...
การประชุมสุดยอด ดิจิทัล ไชน่า ซัมมิต ครั้งที่ 5 จัดขึ้นที่นครฝูโจว มณฑลฝูเจี้ยน
—
การประชุมสุดยอด ดิจิทัล ไชน่า ซัมมิต ครั้งที่ 5 (The 5th Digital China S...