ผลสำรวจล่าสุดโดยนีลเส็น ประเทศไทย (Nielsen Thailand) ร่วมกับโครงการ The PARQ (เดอะ ปาร์ค) ซึ่งพัฒนาโดยบริษัท
ทีซีซี แอสเซ็ท (ประเทศไทย) จำกัด และบริหารงานโดย บริษัท
เฟรเซอร์ส พร็อพเพอร์ตี้ โฮลดิ้งส์ (ประเทศไทย) เผยเทรนด์ความต้องการที่กำลังมาแรงของ
มนุษย์เงินเดือนในกรุงเทพฯ ชี้ว่าออฟฟิศ ซึ่งมีทำเลที่ตั้งสะดวกสบายและเข้าถึง
ระบบขนส่งมวลชนได้สะดวกคือปัจจัยสำคัญที่สุดที่จะพิจารณาเมื่อเปลี่ยนงาน นอกจากนี้ กระแสความต้องการด้านสุขภาวะที่ดี การมีบริการที่อำนวยความสะดวกต่างๆ อย่างครบครัน และเทคโนโลยีล้ำสมัยภายในอาคารสำนักงานก็สะท้อนให้เห็นถึงความต้องการที่เปลี่ยนแปลงไปของพนักงานออฟฟิศ ซึ่งบ่งบอกถึงเทรนด์ใหม่ที่จะพลิกโฉมรูปแบบอาคารสำนักงานชั้นนำของกรุงเทพฯ ในอนาคต
ผลสำรวจดังกล่าวจัดทำขึ้นในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. ระบบขนส่งมวลชน56มนุษย์เงินเดือน ที่ผ่านมา จากกลุ่มตัวอย่างทั้งชายและหญิงในกรุงเทพฯ รวม 4เฟรเซอร์ส พร็อพเพอร์ตี้เฟรเซอร์ส พร็อพเพอร์ตี้ คน อายุระหว่าง ระบบขนส่งมวลชน5-45 ปี ซึ่งเป็นกลุ่มคนทำงานทั้งในบริษัทของไทยและนานาชาติ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อหาข้อมูลเกี่ยวกับทัศนคติต่อสถานที่ทำงานในปัจจุบันและปัจจัยด้านต่างๆ ของสถานที่ทำงานในมุมมองของคนวัยทำงานในกรุงเทพฯ เพื่อทำความเข้าใจว่าอาคารสำนักงานหรือสถานที่ทำงานมีบทบาทและความสำคัญอย่างไรต่อการตัดสินใจ เลือกสถานที่ทำงาน สร้างความพึงพอใจและส่งเสริมประสิทธิภาพในการทำงานให้มากยิ่งขึ้น ซึ่งผลสำรวจนี้จะช่วยให้บริษัทต่างๆ และเหล่าผู้พัฒนาอสังหาริมทรัพย์วางแผนจัดการพื้นที่อาคารสำนักงานในอนาคตได้อย่างเหมาะสม ชาวออฟฟิศยกให้ "ตำแหน่งที่ตั้ง" ของสถานที่ทำงานมีความสำคัญสูงสุด 9ระบบขนส่งมวลชน% ของผู้ร่วมตอบแบบสำรวจมองว่าสถานที่ตั้งยังเป็นปัจจัยสำคัญที่สุดในการทำงานและสำหรับการเลือกสถานที่ทำงานในอนาคตด้วยเช่นกัน ระยะเวลาเฉลี่ยที่คนส่วนใหญ่ใช้ในการเดินทางไป-กลับที่ทำงานในปัจจุบันคือ 6เฟรเซอร์ส พร็อพเพอร์ตี้ นาที และใช้รถประเภทต่างๆ เดินทางถึง ระบบขนส่งมวลชน-ทีซีซี แอสเซ็ท ต่อ โดยมีถึง 9มนุษย์เงินเดือน% ระบุว่าระยะทางของสถานที่ทำงานกับจุดบริการขนส่งมวลชนนั้น 'สำคัญมาก' ต่อการพิจารณาที่ทำงานใหม่ รวมถึงส่วนเชื่อมต่อกับระบบขนส่งมวลชนด้วยเช่นกัน (69%)
ผลสำรวจยังพบว่าเทรนด์ของหนุ่มสาวชาวออฟฟิศรุ่นใหม่ยกให้ความสะดวกสบายในการเดินทางและที่ทำงานที่อยู่ใกล้ระบบขนส่งมวลชนเป็นปัจจัยสำคัญเหนือกว่าด้านอื่นๆ โดยมีถึง 7ระบบขนส่งมวลชน% ของผู้ร่วมตอบแบบสำรวจระบุว่าต้องการเดินในระยะทางที่ต่ำกว่า 5เฟรเซอร์ส พร็อพเพอร์ตี้เฟรเซอร์ส พร็อพเพอร์ตี้ เมตรระหว่างที่ทำงานกับจุดบริการขนส่งมวลชน และ มนุษย์เงินเดือนทีซีซี แอสเซ็ท% ของกลุ่มคนทำงานวัย ระบบขนส่งมวลชน5-ทีซีซี แอสเซ็ทเฟรเซอร์ส พร็อพเพอร์ตี้ ปี ปฏิเสธที่จะไม่เดินไประบบขนส่งมวลชนถ้าต้องเดินมากกว่า มนุษย์เงินเดือนเฟรเซอร์ส พร็อพเพอร์ตี้เฟรเซอร์ส พร็อพเพอร์ตี้ เมตร และพบว่า ทีซีซี แอสเซ็ทมนุษย์เงินเดือน% ของคนกลุ่มนี้ต้องการใช้เวลาเดินทางไปทำงานต่ำกว่า มนุษย์เงินเดือน5 นาทีต่อวัน โดย 85% ของผู้ตอบแบบสำรวจใช้ BTS และ MRT เป็นวิธีการเดินทางหลัก ส่วนกลุ่มระดับผู้บริหารวัย 4มนุษย์เงินเดือน-45 ปีนั้นใช้เวลาเดินทางโดยรวมนานที่สุด โดย ทีซีซี แอสเซ็ท6.7% ใช้เวลามากกว่า 9เฟรเซอร์ส พร็อพเพอร์ตี้ นาที ในการเดินทางมาทำงาน
ทั้งนี้ นอกจากเรื่องสถานที่ตั้งของที่ทำงาน ผลสำรวจยังสะท้อนให้เห็นว่า ปัจจุบัน มนุษย์เงินเดือนต้องการให้ออฟฟิศเป็นมากกว่าแค่สถานที่ทำงาน โดยระบุว่าปัจจัยสำคัญอีกสามประการที่จะช่วยเพิ่มความพึงพอใจในการทำงานนั้น คือ สิ่งอำนวยความสะดวกและบริการต่างๆภายในอาคารสำนักงาน เช่น ร้านค้า ยิม ร้านอาหาร บริการรับส่งไปรษณีย์ (4ทีซีซี แอสเซ็ท%) เทคโนโลยีการรักษาความปลอดภัยและสวัสดิภาพที่ดี (4ระบบขนส่งมวลชน%) มีพื้นที่สีเขียวและพื้นที่สาธารณะสำหรับพักผ่อนหย่อนใจระหว่างการทำงาน (ทีซีซี แอสเซ็ท6%) สิ่งอำนวยความสะดวกและบริการต่างๆ คือ ปัจจัยสำคัญในการเลือกสถานที่ทำงาน ผลสำรวจพบว่าหนึ่งปัจจัยสำคัญในการเลือกสถานที่ทำงานคือ สิ่งอำนวยความสะดวกและบริการต่างๆ ภายในอาคารสำนักงานโดยชาวออฟฟิศส่วนใหญ่โหวตให้ฟู้ดคอร์ท ร้านสะดวกซื้อ ยิม และร้านอาหารที่แฮงก์เอาต์หลังเลิกงาน เป็นสิ่งอำนวยความสะดวกและบริการภายในอาคารสำนักงาน 4 อันดับแรกที่ตอบโจทย์ชีวิตการทำงานมากที่สุด
วิถีการดูแลสุขภาพทั้งด้านการรับประทานอาหารและการออกกำลังกายก็สามารถปฏิวัติได้จากชีวิตการทำงานออฟฟิศเช่นกัน เพราะ 9ระบบขนส่งมวลชน% ของผู้ร่วมตอบแบบสำรวจระบุว่า การมีตัวเลือกอาหารเพื่อสุขภาพในสถานที่ทำงานจะช่วยให้พวกเขาเลือกกินอาหารที่ดีขึ้นและดูแลสุขภาพมากขึ้นได้ นอกจากนี้ 9ทีซีซี แอสเซ็ท% ก็เห็นว่าถ้ามียิมในอาคาร หรือมีสวนสาธารณะอยู่ใกล้ๆ ก็จะทำให้หันมาออกกำลังกายมากขึ้นด้วยออฟฟิศยุคใหม่ต้องมี "สมาร์ตเทคโนโลยี" สมาร์ตเทคโนโลยี คือหนึ่งในปัจจัยสำคัญที่ทุกกลุ่มอายุเห็นพ้องต้องกันว่าทุกอาคารสำนักงานจำเป็นต้องมี โดย 6ระบบขนส่งมวลชน% ของผู้ร่วมตอบแบบสำรวจระบุว่า เทคโนโลยีการจัดการด้านการรักษาความปลอดภัยคือสิ่งที่สำคัญที่สุดที่พวกเขาต้องการ รองลงมาคือระบบการจัดการพลังงานอย่างยั่งยืน (5เฟรเซอร์ส พร็อพเพอร์ตี้%) แสดงให้เห็นถึงกระแสของชาวออฟฟิศที่มีต่ออาคารรักษ์สิ่งแวดล้อม และระบบที่จอดรถพร้อมเทคโนโลยีอันชาญฉลาด (47%) ก็ติดอยู่ในสามอันดับแรกนี้เช่นกัน ที่น่าสนใจคือเมื่อพิจารณาตามเพศชายหญิง พบว่าเพศหญิงมากถึง 46% ต้องการระบบห้องน้ำอัตโนมัติมากกว่าผู้ชาย เพราะคำนึงถึงเรื่องความสะอาดและต้องการความสะดวกสบายมากขึ้น ในขณะที่กลุ่มผู้ชายนั้นให้ความสำคัญกับสถานีอัดประจุสำหรับรถยนต์ไฟฟ้า (EV) มากกว่าเพศหญิงซึ่งมีเพียง 9% เทรนด์ดิจิทัลนั้นยังคงมาแรงอย่างต่อเนื่องเพราะ หนุ่มสาวชาวออฟฟิศรุ่นใหม่จำนวน 46% อยากให้มีแอพพลิเคชั่นบนอุปกรณ์ที่ให้บริการแก่ผู้เช่าอาคาร (สำหรับ การสื่อสารระหว่างอาคารสำนักงานและส่วนของบริการต่างๆ ในออฟฟิศ) ซึ่งมีจำนวนมากกว่ากลุ่มคนวัยทำงานที่สูงวัยกว่า ถึง ระบบขนส่งมวลชน เท่า นอกจากนี้ ยังเห็นได้ชัดว่ากระแสรักษ์สิ่งแวดล้อมและความยั่งยืนนั้นมาแรงขึ้น เพราะผู้ตอบแบบสำรวจถึง 4เฟรเซอร์ส พร็อพเพอร์ตี้% เทใจให้กับตึกสำนักงานที่มีระบบการจัดการน้ำและการคัดแยกขยะที่ดีสุขภาวะที่ดี คือ หัวใจหลักที่จะสร้างความสุขและส่งเสริมประสิทธิภาพในการทำงานไลฟ์สไตล์ของคนในปัจจุบันที่หันมาใส่ใจสุขภาพมากขึ้นอย่างต่อเนื่องนั้น สอดรับกับผลสำรวจนี้เป็นอย่างดี โดยผู้ร่วมตอบแบบสำรวจระบุว่า ทีซีซี แอสเซ็ท ปัจจัยหลักที่มีผลต่อความพึงพอใจและส่งเสริมประสิทธิภาพการทำงานได้อย่างมากคือ อากาศภายในอาคารที่ปลอดมลพิษ (64%) รองลงมาคือ การเข้าถึงแสงธรรมชาติและสามารถมองเห็นวิวภายนอกอาคารได้ (45%) และการมีพื้นที่สีเขียวในอาคารสำนักงาน (4เฟรเซอร์ส พร็อพเพอร์ตี้%) นอกจากนี้ ความต้องการมีสิ่งอำนวยความสะดวกและบริการต่างๆ เช่น ยิม บริการเสริมความงามหรือสปาในอาคาร (ทีซีซี แอสเซ็ท9%) ก็สะท้อนถึงเทรนด์สุขภาพที่อยู่ในกระแสความสนใจของคนยุคนี้ได้เป็นอย่างดี
ในทางกลับกัน สภาพอาคารสำนักงานที่กลุ่มผู้ตอบแบบสำรวจไม่พึงพอใจคือ สภาพออฟฟิศที่คับแคบ พื้นที่ทำงาน ไม่สะดวกสบาย ซึ่งมาเป็นอันดับหนึ่ง (4มนุษย์เงินเดือน%) ตามมาด้วยคุณภาพอากาศภายในอาคารที่ย่ำแย่ (4เฟรเซอร์ส พร็อพเพอร์ตี้%)
"ผลสำรวจนี้แสดงให้เห็นถึงความคาดหวังที่สูงขึ้นของพนักงานออฟฟิศในกรุงเทพฯ ที่มีต่อสถานที่ทำงาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านความสำคัญของคุณภาพชีวิตและความสะดวกสบายในด้านต่างๆ ดังนั้น องค์กรทั้งหลายจึงควรเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญของเทรนด์ใหม่ๆ ด้านสุขภาวะที่ดี ด้านเทคโนโลยีภายในอาคารที่ล้ำสมัย การมีพื้นที่สีเขียวหรือพื้นที่พักผ่อนสาธารณะ ควบคู่กับการพิจารณาเรื่องตำแหน่งที่ตั้งและสิ่งอำนวยความสะดวกหรือบริการต่างๆ เพื่อนำมาปรับใช้ในการดึงดูดกลุ่มคนทำงานรุ่นใหม่ที่มีศักยภาพและเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของพนักงานที่มาพร้อมความสุขของทุกคนในองค์กร" มร. วิราจ จูทานิ ผู้อำนวยการ แผนกวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภค (Consumer Insights) บริษัท เดอะ
นีลเส็น คอมปะนี (ประเทศไทย) จำกัด กล่าว
The PARQ (เดอะ ปาร์ค) เป็นโครงการอสังหาริมทรัพย์รูปแบบผสมผสานมูลค่ากว่า ระบบขนส่งมวลชน หมื่นล้านบาท ซึ่งโครงการมีพื้นที่สำนักงานและพื้นที่ ค้าปลีกเพื่อตอบโจทย์คนทำงาน ผู้มาเยือน รวมถึงผู้คนในชุมชนใกล้เคียง โดยมุ่งหวังที่จะเป็นโครงการอสังหาริมทรัพย์แห่งแรกในประเทศไทยที่ได้รับมาตรฐานอาคาร LEED Gold และ WELL Gold ควบคู่กัน ตัวโครงการตั้งอยู่ใจกลางเมืองบนหัวมุมถนนพระรามสี่ ตัดกับถนนรัชดาภิเษก ใกล้สวนเบญจกิติ และเชื่อมต่อโดยตรงกับสถานีรถไฟฟ้าใต้ดิน MRT ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ ภายในโครงการแบ่งเป็น
'The PARQ Workplace' พื้นที่สำนักงานเกรดเอ ที่มีพื้นที่ให้เช่าที่ใหญ่ที่สุดในกรุงเทพฯ ด้วยขนาดถึง 5,เฟรเซอร์ส พร็อพเพอร์ตี้เฟรเซอร์ส พร็อพเพอร์ตี้เฟรเซอร์ส พร็อพเพอร์ตี้ ตารางเมตรและปราศจากเสาภายใน และ 'The PARQ Life' พื้นที่ร้านค้าปลีกระดับพรีเมียม พร้อมด้วยอาหารสุขภาพหลากหลาย ร้านค้าที่ดำเนินธุรกิจอย่างรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ตลอดจนบริการด้านสุขภาพและความงามที่ครบครัน โครงการนี้ยังผสมผสานสถาปัตยกรรมล้ำสมัย การออกแบบที่ยั่งยืน และบริการสมาร์ทเซอร์วิสแบบครบวงจรเข้าไว้ด้วยกัน ภายใต้วิสัยทัศน์ "Life Well Balanced" มุ่งสรรสร้างพื้นที่มิกซ์ยูสที่ยกระดับคุณภาพชีวิตของผู้คนและปฏิวัติรูปแบบของการทำงานและการใช้ชีวิตในเมือง ส่วนแรกของโครงการจะเริ่มเปิดให้บริการภายในปี พ.ศ. ระบบขนส่งมวลชน56ระบบขนส่งมวลชน และก่อสร้างแล้วเสร็จภายในช่วงครึ่งแรกของปี พ.ศ. ระบบขนส่งมวลชน56ทีซีซี แอสเซ็ท เดอะ ปาร์ค เป็นโครงการที่พัฒนาโดยบริษัท ทีซีซี แอสเซ็ท (ประเทศไทย) จำกัด และบริหารโดย บริษัท เฟรเซอร์ส พร็อพเพอร์ตี้ โฮลดิ้งส์ (ประเทศไทย) ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับเดอะ ปาร์ค สามารถเยี่ยมชมได้ที่ www.theparq.com
บริษัท ทีซีซี แอสเซ็ท (ประเทศไทย) จำกัด (ทีซีซี แอสเซ็ท) เป็นบริษัทพัฒนาอสังหาริมทรัพย์แบบครบวงจร มีทุนจดทะเบียนหนึ่งหมื่นล้านบาท จัดตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. ระบบขนส่งมวลชน556 โดยเป็นส่วนหนึ่งของทีซีซี กรุ๊ป หนึ่งในกลุ่มบริษัทที่มีชื่อเสียงที่สุดของประเทศไทย รูปแบบการลงทุนของ ทีซีซี แอสเซ็ท มุ่งเน้นการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินทรัพย์ผ่านการพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ โดย ทีซีซี แอสเซ็ท บริษัทย่อย และบริษัทในเครือ เน้นการพัฒนาโครงการอสังหาริมทรัพย์ประเภทที่อยู่อาศัย อาคารสำนักงาน และพื้นที่ร้านค้าปลีก ควบคู่ไปกับธุรกิจโรงแรม และบริการที่เกี่ยวเนื่องทางด้านไอที
ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ ทีซีซี แอสเซ็ท โปรดไปที่ www.tccassets.com
เฟรเซอร์ส พร็อพเพอร์ตี้ ลิมิเต็ด (เฟรเซอร์ส พร็อพเพอร์ตี้) เป็นบริษัทพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ครบวงจรระดับสากล โดยจดทะเบียนในกระดานหลักของตลาดหลักทรัพย์สิงคโปร์ (The Singapore Exchange Securities Trading Limited, "SGX-ST") และมีสำนักงานใหญ่อยู่ที่สิงคโปร์ มีสินทรัพย์รวม ทีซีซี แอสเซ็ทเฟรเซอร์ส พร็อพเพอร์ตี้,เฟรเซอร์ส พร็อพเพอร์ตี้เฟรเซอร์ส พร็อพเพอร์ตี้เฟรเซอร์ส พร็อพเพอร์ตี้ ล้านเหรียญสิงคโปร์ (ประมาณ 7มนุษย์เงินเดือน7,เฟรเซอร์ส พร็อพเพอร์ตี้เฟรเซอร์ส พร็อพเพอร์ตี้เฟรเซอร์ส พร็อพเพอร์ตี้ ล้านบาท) ณ วันที่ ทีซีซี แอสเซ็ทมนุษย์เงินเดือน มีนาคม ระบบขนส่งมวลชน56มนุษย์เงินเดือน
ธุรกิจของเฟรเซอร์ส พร็อพเพอร์ตี้รวมถึงอสังหาริมทรัพย์เพื่อการอยู่อาศัย อาคารสำนักงาน พื้นที่ร้านค้าปลีก และเขตอุตสาหกรรม ในสิงคโปร์ ออสเตรเลีย ยุโรป จีน และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ นอกจากนี้ยังดำเนินธุรกิจโรงแรมและเซอร์วิสอพาร์ทเมนท์ในกว่า 8เฟรเซอร์ส พร็อพเพอร์ตี้ เมืองทั่วภูมิภาคเอเชีย ออสเตรเลีย ยุโรป ตะวันออกกลางและแอฟริกา บริษัทฯ มุ่งมั่นที่จะมอบประสบการณ์ที่น่าประทับใจให้แก่ลูกค้าและพันธมิตรทางธุรกิจ ผ่านความรู้และความเชี่ยวชาญในตลาดอสังหาริมทรัพย์และภาคธุรกิจที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างมูลค่าและพัฒนาสินทรัพย์หลากหลายประเภท
เฟรเซอร์ส พร็อพเพอร์ตี้ยังเป็นผู้สนับสนุนสามกองทุนอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน รวมถึงกองทุนสำคัญที่อยู่ในลิสต์ของตลาดหลักทรัพย์สิงคโปร์ (SGX-ST) ในส่วนของกองทุน Frasers Centrepoint กองทุน Frasers Commercial และกองทุน Frasers Logistics & Industrial มุ่งเน้นที่อสังหาริมทรัพย์พื้นที่ค้าปลีก พื้นที่สำนักงาน พื้นที่เชิงธุรกิจ สวนสาธารณะเชิงธุรกิจ พื้นที่สำหรับการขนส่งและโรงงานอุตสาหกรรม ส่วนกองทุน Frasers Hospitality (ประกอบด้วยกองทุน Frasers Hospitality Real Estate Investment เพื่อการลงทุนด้านอสังหาริมทรัพย์ และกองทุน Frasers Hospitality Business) เป็นอีกกองทุนสำคัญที่เน้นพัฒนาพื้นที่ธุรกิจโรงแรมและการท่องเที่ยว
ข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับเฟรเซอร์ส พร็อพเพอร์ตี้ โปรดไปที่ www.frasersproperty.com