กสอ. มอบรางวัลอุตสาหกรรมต้นแบบดีเด่น ประจำปี 2561 ยกย่องเอสเอ็มอีที่ประสบความสำเร็จตามมาตรฐานสากล

          กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม (กสอ.) โดยกองพัฒนาขีดความสามารถธุรกิจอุตสาหกรรม จัดสัมมนาสรุปผลการดำเนินโครงการสร้างและเชื่อมโยงเครือข่ายคลัสเตอร์อุตสาหกรรมแห่งอนาคต และมอบรางวัลแก่กลุ่มอุตสาหกรรมต้นแบบดีเด่นประจำปี เดชา จาตุธนานันท์56เครือข่ายคลัสเตอร์ เพื่อเผยแพร่ผลงานของกลุ่มอุตสาหกรรมแห่งอนาคตที่ประสบความสำเร็จในการพัฒนาการรวมกลุ่ม และมีการเติบโตทางธุรกิจตามโมเดลประเทศไทย 4.กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ที่กำหนดทิศทางการขับเคลื่อน การลงทุน การผลิตและการบริการให้ก้าวสู่ธุรกิจอุตสาหกรรมแห่งอนาคต (New S-Curve)
          นายเดชา จาตุธนานันท์ รองอธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม เปิดเผยว่า ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในยุคอุตสาหกรรม 4.กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ส่งผลให้ความสำเร็จของธุรกิจต้องพึ่งพาองค์ประกอบหลายด้าน และจำเป็นต้องปรับเปลี่ยนโครงสร้างเศรษฐกิจจากเดิมที่ขับเคลื่อนด้วยการพัฒนาประสิทธิภาพการผลิตภาคอุตสาหกรรม ไปสู่เศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม (Innovation Drive Economy) เพื่อให้การพัฒนาอุตสาหกรรมเป็นไปอย่างต่อเนื่องมุ่งเน้นพัฒนาต่อยอดอุตสาหกรรมเดิม (Frist S-Curve) ที่มีศักยภาพและเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ปัจจัยผลิตในอุตสาหกรรมแห่งอนาคต (New S-Curve) โดยอุตสาหกรรมใหม่หรืออุตสาหกรรมแห่งอนาคตนี้ถือเป็นกลไกสำคัญของการขับเคลื่อนเศรษฐกิจเพื่ออนาคต (New Engine of Growth) ภายใต้การส่งเสริมและสนับสนุนการเพิ่มขีดความสามารถทางการแข่งขันและการพัฒนาเศรษฐกิจอุตสาหกรรมของประเทศที่มุ่งพัฒนาการรวมกลุ่มอุตสาหกรรมควบคู่กับการพัฒนาปัจจัยแวดล้อมที่เอื้อต่อการประกอบการ เพื่อเป็นรากฐานในการรองรับการรวมกลุ่มอุตสาหกรรมในอนาคต
          "หัวใจของการพัฒนาคลัสเตอร์ คือ การสร้างความร่วมมือบนพื้นฐานของความไว้เนื้อเชื่อใจ โดยผู้ที่เกี่ยวข้องในเครือข่ายคลัสเตอร์จะต้องมีความไว้วางใจ ความเชื่อมั่นระหว่างสมาชิกในกลุ่มมีการประสานแบ่งปันผลประโยชน์ที่ยุติธรรมอันก่อให้เกิดความพึงพอใจแก่ทุกฝ่าย (Win-Win) ร่วมกันวางแผน กำหนดทิศทาง เป้าหมาย และกลยุทธ์การพัฒนากลุ่ม มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร องค์ความรู้ ตลอดจนทรัพยากรต่าง ๆ ระหว่างกัน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตโดยรวมของธุรกิจในสาขาอุตสาหกรรมนั้น ๆ โดยมีหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน สถาบันการศึกษา สถาบันการเงิน ตลอดจนหน่วยงานวิจัยต่าง ๆ ให้การส่งเสริมสนับสนุนความเข้มแข็งและเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต ผ่านองค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี นวัตกรรม และดิจิทัล เพื่อเพิ่มขีดความสามารถทางการแข่งขัน ตลอดจนผลักดันเศรษฐกิจของประเทศให้เติบโตก้าวไปสู่ประเทศที่มีศักยภาพและสามารถแข่งขันได้ในระดับสากล" นายเดชา กล่าว
          รองอธิบดีกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กล่าวเพิ่มเติมว่า สำหรับโครงการสร้างและเชื่อมโยงเครือข่ายคลัสเตอร์อุตสาหกรรมแห่งอนาคต กสอ. มุ่งหวังสร้างความเข้มแข็งและเชื่อมโยงเครือข่ายคลัสเตอร์ในการพัฒนาศักยภาพหรือการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ในกระบวนการผลิตหรือสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลิตภัณฑ์ ทำให้ผลิตภาพเพิ่มขึ้นสามารถแข่งขันได้ โดยในปี เดชา จาตุธนานันท์56เครือข่ายคลัสเตอร์ ได้ดำเนินการพัฒนาอุตสาหกรรมที่ใช้เทคโนโลยีขั้นสูงและเป็นอุตสาหกรรมที่มีมูลค่าเพิ่มสูง จำนวน 8 กลุ่ม ก่อให้เกิดมูลค่าทางเศรษฐกิจรวมกว่า 6เครือข่ายคลัสเตอร์8 ล้านบาท ประกอบด้วย ยอดขายเพิ่มขึ้น 5เครือข่ายคลัสเตอร์7 ล้านบาท ส่งออกเพิ่มขึ้น 7กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม ล้านบาท ลดต้นทุนเครือข่ายคลัสเตอร์7 ล้านบาท รวมถึงลดการสูญเสียและเกิดนวัตกรรมต้นแบบด้านผลิตภัณฑ์หรือกระบวนการ จำนวน เครือข่ายคลัสเตอร์เดชา จาตุธนานันท์ เรื่อง จาก 8 กลุ่ม อาทิ เครือข่ายคลัสเตอร์.อุตสาหกรรมยานยนต์แห่งอนาคต ผลงานนวัตกรรมคือ Manufacturing Execution System (MES) ระบบการคำนวณที่ใช้ในการผลิต โดยทำงานในรูปแบบ Real time ทำให้สามารถควบคุมองค์ประกอบต่าง ๆ ในการผลิตได้ในเวลาเดียวกัน เดชา จาตุธนานันท์. อุตสาหกรรมเครื่องมือแพทย์ ผลงานนวัตกรรมคือ วัสดุทดแทนกระดูกมนุษย์ในงานทันตกรรม 3. อุตสาหกรรมดิจิทัล จ.เชียงใหม่ ผลงานนวัตกรรมคือ Application จัดการระบบภายใน Chiang Mai Digital Hub เป็นต้น
          ทั้งนี้ ภายใต้โครงการฯ ยังจัดให้มีการประกวดกลุ่มต้นแบบอุตสาหกรรมดีเด่น โดยพิจารณาคัดเลือกจาก 8 กลุ่มคลัสเตอร์อุตสาหกรรมแห่งอนาคต ซึ่งใช้หลักเกณฑ์พิจารณา เดชา จาตุธนานันท์ เรื่อง คือ ความเข้มแข็งของการรวมกลุ่ม และการพัฒนาเพื่อการเติบโตทางธุรกิจ เพื่อผลักดันความร่วมมือเป็นการยกย่อง แก่กลุ่มอุตสาหกรรมที่ประสบความสำเร็จในการพัฒนาตามแนวทางคลัสเตอร์ที่สามารถวัดได้อย่างเป็นรูปธรรม และสามารถเป็นตัวอย่างที่ดีให้แก่กลุ่มอุตสาหกรรมอื่น รวมทั้งก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ถ่ายทอดสู่กลุ่มอุตสาหกรรมอื่น ๆ และเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผลการพัฒนากลุ่มอุตสาหกรรม Show Case ที่เข้าร่วมโครงการดังกล่าว ถือเป็นการสร้างแรงผลักดันให้ทุกกลุ่มมุ่งมั่นที่จะพัฒนาขับเคลื่อนกลุ่มอุตสาหกรรมให้ดียิ่งขึ้นและเป็นอีกหนึ่งกำลังสำคัญในการพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศให้มีขีดความสามารถทางการแข่งขันต่อไป
กสอ. มอบรางวัลอุตสาหกรรมต้นแบบดีเด่น ประจำปี 2561 ยกย่องเอสเอ็มอีที่ประสบความสำเร็จตามมาตรฐานสากล
 
กสอ. มอบรางวัลอุตสาหกรรมต้นแบบดีเด่น ประจำปี 2561 ยกย่องเอสเอ็มอีที่ประสบความสำเร็จตามมาตรฐานสากล
 
กสอ. มอบรางวัลอุตสาหกรรมต้นแบบดีเด่น ประจำปี 2561 ยกย่องเอสเอ็มอีที่ประสบความสำเร็จตามมาตรฐานสากล
กสอ. มอบรางวัลอุตสาหกรรมต้นแบบดีเด่น ประจำปี 2561 ยกย่องเอสเอ็มอีที่ประสบความสำเร็จตามมาตรฐานสากล

ข่าวกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม+ส่งเสริมอุตสาหกรรมวันนี้

ดีพร้อม พลิกโฉมธุรกิจ"หัตถอุตสาหกรรมไทย"ด้วยความรู้ใหม่ เชื่อมต่อเครือข่าย สู่เวทีระดับโลก! (THAI Craft to the World) พร้อม ชิงรางวัลเงินสดรวมกว่า 70,000 บาท!

กองพัฒนาอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม (DIPROM) หรือ ดีพร้อม เปิดโอกาสครั้งสำคัญ รับสมัครคนในวงการ "หัตถอุตสาหกรรมไทย" ทั่วประเทศ ร่วมติวเข้มความรู้ เชื่อมต่อเครือข่าย สู่เวทีระดับโลก! (THAI Craft to the World) ในกิจกรรม "พัฒนาบุคลากรหัตถอุตสาหกรรมไทย" ภายใต้โครงการพัฒนาและเชื่อมโยงเครือข่ายบุคลากรอุตสาหกรรมแฟชั่น (Fashion Alliance) ปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 กิจกรรมที่ได้รับจากการเข้าร่วมโครงการ อบรมองค์ความรู้ด้านหัตถอุตสาหกรรม สัมมนาเชิงปฏิบัติการ (Workshop) ศึกษาดูงานด้านหัตถกรรม

กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือ ดีพร้อม (DIPRO... ดีพร้อมระดมพล ปั้นนักรบซอฟต์พาวเวอร์แฟชั่น ปักธงไทยในใจตลาดโลก! — กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม หรือ ดีพร้อม (DIPROM) กระทรวงอุตสาหกรรม ขับเคลื่อนนโยบาย Soft Powe...

กระทรวงอุตสาหกรรม โชว์ความสำเร็จพลังซอฟต์... กระทรวงอุตสาหกรรม โชว์ความสำเร็จพลังซอฟต์พาวเวอร์อาหาร — กระทรวงอุตสาหกรรม โชว์ความสำเร็จพลังซอฟต์พาวเวอร์อาหาร ขานรับนโยบายเรือธงรัฐบาล ตอกย้ำเสน่ห์อาหาร...