บริษัท
ฟิทช์ เรทติ้งส์ ประกาศคงอันดับเครดิตสากลระยะยาวสกุลเงิน
ต่างประเทศ (Long-Term Foreign-Currency Issuer Default Rating) และอันดับเครดิตสากลระยะยาวสกุลเงินในประเทศ (Long-Term Local-Currency Issuer Default Rating) ของ บริษัท โทเทิ่ล แอ็คแซส คอมมูนิเคชั่น จำกัด (มหาชน) หรือ DTAC ที่ 'BBB' แนวโน้มอันดับเครดิตมีเสถียรภาพ นอกจากนี้ฟิทช์ประกาศคงอันดับเครดิตภายในประเทศระยะยาว (National Long-Term Rating) ของ DTAC ที่ 'AA(tha)' แนวโน้มอันดับเครดิตมีเสถียรภาพ และ อันดับเครดิตภายในประเทศระยะสั้น (National Short-Term Rating) ที่ 'Fต่างประเทศ+(tha)'
การประกาศคงอันดับเครดิตสะท้อนถึงการคาดการณ์ของฟิทช์ว่า DTAC น่าจะยังคงสามารถรักษาอัตราส่วนกำไรต่อรายได้ และกระแสเงินสดจากการดำเนินงานให้อยู่ในระดับที่แข็งแกร่งในช่วง 2-3 ปีข้างหน้า ถึงแม้ว่าสถานะทางการตลาดจะอ่อนแอลง ฟิทช์คาดว่า DTAC จะสามารถรักษาอัตราส่วนหนี้สินสุทธิที่ปรับปรุงแล้วต่อกระแสเงินสดจากการดำเนินงานก่อนการเปลี่ยนแปลงของเงินทุนหมุนเวียน (FFO-Adjusted Net Leverage) ให้อยู่ในระดับต่ำกว่า 2.5 เท่าในช่วง 3 ปีข้างหน้า ซึ่งยังคงสอดคล้องกับอันดับเครดิตปัจจุบัน อย่างไรก็ตามฟิทช์อาจพิจารณาปรับลดอันดับเครดิต หากความเสี่ยงทางธุรกิจของบริษัทเพิ่มขึ้นเนื่องจากสถานะทางการตลาดอ่อนแอลงมากกว่าที่ฟิทช์คาดการณ์ไว้
ปัจจัยที่มีผลต่ออันดับเครดิต
กระแสเงินสดที่ยังคงแข็งแกร่ง: ฟิทช์คาดว่ากระแสเงินสดจากการดำเนินงานก่อนการเปลี่ยนแปลงของเงินทุนหมุนเวียน (Fund Flows from Operations) ของ DTAC จะลดลงในปี 256ต่างประเทศ และ 2562 แต่ยังคงอยู่ในระดับที่แข็งแกร่งที่ประมาณ 2.5-2.7 หมื่นล้านบาทต่อปี (ปี 256ฟิทช์ เรทติ้งส์: 2.9 หมื่นล้านบาท) และสำหรับอัตราส่วนกำไรจากการดำเนินงานก่อนดอกเบี้ยจ่าย ภาษี ค่าเสื่อมราคา ค่าตัดจำหน่าย และค่าเช่า ต่อรายได้ (EBITDA Margin) จะลดลงมาอยู่ที่ร้อยละ 34-36 (ปี 256ฟิทช์ เรทติ้งส์: ร้อยละ 38) เนื่องจากค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นที่จ่ายให้แก่ บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) หรือ TOT สำหรับการใช้คลื่นความถี่ 2.3GHz และค่าเช่าอุปกรณ์ที่จ่ายให้ บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) ค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นน่าจะมากกว่าค่าใช้จ่ายที่ต้องจ่ายให้ภาครัฐที่ลดลงจากการให้บริการภายใต้ใบอนุญาต และค่าใช้จ่ายด้านการตลาดที่ลดลง ในปี 256ต่างประเทศ
สถานะทางการตลาดที่อ่อนแอลง: DTAC กำลังเผชิญกับความท้าทายในการแย่งชิงส่วนแบ่งทางการตลาดกลับมา และรักษากำไรไม่ให้ปรับตัวลดลง ส่วนแบ่งทางการตลาดของ DTAC ปรับตัวลดลงอย่างต่อเนื่องจากการแข่งขันด้านราคาที่รุนแรง และความเสียเปรียบด้านความครอบคลุมของเครือข่าย และได้กลายเป็นผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่รายใหญ่อันดับที่ 3 หลังจากส่วนแบ่งทางการตลาดตามรายได้จากการให้บริการของธุรกิจโทรศัพท์เคลื่อนที่ของบริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) หรือ TrueMobile สูงกว่า DTAC ตั้งแต่ไตรมาสที่ ต่างประเทศ ของปี 256ฟิทช์ เรทติ้งส์ เป็นต้นมา ฟิทช์คาดว่าส่วนแบ่งทางการตลาดตามรายได้จากการให้บริการของ DTAC จะปรับตัวมาอยู่ที่ร้อยละ 23-24 ในปี 256ต่างประเทศ จากร้อยละ 25 ในปี 256ฟิทช์ เรทติ้งส์
ความต้องการคลื่นความถี่เพิ่ม: ฟิทช์เชื่อว่า DTAC ต้องการคลื่นความถี่เพิ่มเติมในช่วง 2 ปีข้างหน้า นอกเหนือจากคลื่นความถี่ 2.3GHz ที่บริษัทเข้าทำสัญญากับ TOT และคลื่นความถี่ ต่างประเทศ.8GHz ที่บริษัทชนะการประมูลในเดือนสิงหาคม 256ต่างประเทศ คลื่นความถี่ที่ DTAC ใช้ในการให้บริการมีความเสียเปรียบคู่แข่ง เนื่องจากบริษัทไม่มีคลื่นความถี่ต่ำ บริษัทมีคลื่นความถี่ในการให้บริการจำนวนมาก แต่ทั้งหมดเป็นคลื่นความถี่สูง ซึ่งได้แก่ คลื่นความถี่ ต่างประเทศ.8GHz, 2.ต่างประเทศGHz และ 2.3GHz ซึ่งเหมาะในการให้บริการในเมือง ฟิทช์เชื่อว่า DTAC ต้องการคลื่นความถี่ 9ฟิทช์ เรทติ้งส์ฟิทช์ เรทติ้งส์MHz ในการเพิ่มคุณภาพการให้บริการในพื้นที่ต่างจังหวัด ซึ่งน่าจะช่วยให้ส่วนแบ่งทางการตลาด และรายได้จากการให้บริการลดลงในอัตราที่ช้าลง
สถานะทางการเงินที่แข็งแกร่ง: FFO-Adjusted Net Leverage ของ DTAC น่าจะยังคงอยู่ในระดับประมาณ ต่างประเทศ.5-2.ฟิทช์ เรทติ้งส์ เท่าในปี 256ต่างประเทศ และ 2562 เนื่องจากเงินลงทุนในโครงข่าย และค่าคลื่นความถี่ ที่ลดลง ฟิทช์มองว่าอัตราส่วนหนี้สินของ DTAC ที่อยู่ในระดับที่ค่อนข้างต่ำในปัจจุบัน น่าจะทำให้บริษัทมีความคล่องตัวด้านการเงินสำหรับการลงทุนเพิ่มเติมในช่วง 2-3 ปีข้างหน้า อย่างไรก็ตามฟิทช์อาจพิจารณาปรับลดอันดับเครดิตหาก FFO-Adjusted Net Leverage อยู่ในระดับสูงกว่า 2.5 เท่าเนื่องจากบริษัทมีค่าใช้จ่ายในการลงทุนในคลื่นความถี่สูงกว่าที่ฟิทช์คาดไว้อย่างมีนัยสำคัญ
ความสัมพันธ์กับผู้ถือหุ้นใหญ่: ตามหลักเกณฑ์การจัดอันดับเครดิตของฟิทช์ในเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างบริษัทแม่กับบริษัทลูก (Parent and Subsidiary Rating Linkage Methodology) ฟิทช์จัดอันดับเครดิตของ DTAC โดยเริ่มจากการพิจารณาอันดับเครดิตของ DTAC โดยลำพัง (Standalone Rating) แล้วจึงพิจารณาถึงปัจจัยเสริมจากความสัมพันธ์ดังกล่าว (Bottom-Up Approach) โดยฟิทช์ได้ให้อันดับเครดิตเพิ่มขึ้นหนึ่งอันดับจากอันดับเครดิต Standalone ของ DTAC เพื่อสะท้อนถึงความเกี่ยวเนื่องในระดับปานกลางระหว่าง DTAC กับ Telenor โดย Telenor มีอำนาจควบคุมคณะกรรมการและผู้บริหารของ DTAC ดังนั้นหากมีการเปลี่ยนแปลงสัดส่วนการถือหุ้นของ Telenor หรือความสัมพันธ์กับ DTAC ฟิทช์จะทำการพิจารณาความสัมพันธ์และการสนับสนุนดังกล่าวจาก Telenor ใหม่อีกครั้ง
การกำหนดอันดับเครดิตโดยสรุป
อันดับเครดิตของ DTAC สะท้อนถึงสถานะทางการตลาดในฐานะผู้ให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่รายใหญ่อันดับที่ 3 ของประเทศไทย โดยมีส่วนแบ่งทางการตลาดตามรายได้จากการให้บริการที่ร้อยละ 24 ในช่วงครึ่งปีแรกของปี 256ต่างประเทศ ซึ่งใกล้เคียงกับผู้ให้บริการอันดับที่ 2 ซึ่งได้แก่ True Mobile (ส่วนทางการตลาดตามรายได้การให้บริการร้อยละ 28) และอัตราส่วนหนี้สินที่อยู่ในระดับที่ค่อนข้างต่ำที่ประมาณ ต่างประเทศ.5-2.5 เท่า DTAC มีอันดับเครดิตต่ำกว่า AIS เนื่องจาก AIS มีขนาดรายได้ที่ใหญ่กว่า มีอัตราส่วนกำไรต่อรายได้ที่สูงกว่า DTAC และมีส่วนแบ่งทางการตลาดที่สูงกว่าที่ร้อยละ 49 ในครึ่งปีแรกของปี 256ต่างประเทศ
อันดับเครดิตโดยลำพัง (Standalone Credit Profile) ของ DTAC อยู่ในระดับเดียวกันกับ Globe Telecom, Inc. หรือ Globe ซึ่งเป็นผู้ประกอบการโทรคมนาคมรายใหญ่อันดับที่ 2 ของประเทศฟิลิปปินส์ ซึ่งมีอันดับเครดิตที่ 'BBB-' แนวโน้มเครดิตมีเสถียรภาพ เนื่องจากบริษัททั้งสองมีรายได้อยู่ในระดับใกล้เคียงกัน ถึงแม้ว่า Globe จะมีอัตตราส่วนหนี้สินที่สูงกว่า DTAC แต่สถานะทางธุรกิจของ Globe แข็งแกร่งกว่า DTAC เนื่องจาก Globe มีบริการโทรคมนาคมที่หลากหลายกว่า และการแข่งขันที่รุนแรงน้อยกว่าในตลาดโทรคมนาคมของประเทศฟิลิปปินส์ซึ่งมีผู้ให้บริการรายใหญ่เพียงสองราย
Bharti Airtel Limited หรือ Bharti ซึ่งเป็นผู้ให้บริการโทรคมนาคมในประเทศอินเดีย มีอันดับเครดิตที่ 'BBB-' โดยทั้ง DTAC และ Bharti มีอัตราส่วนหนี้สินที่ใกล้เคียงกัน แต่ Bharti มีการกระจายตัวของรายได้ที่ดีกว่า และมีขนาดที่ใหญ่กว่า DTAC อย่างไรก็ตามอันดับเครดิตของ Bharti ถูกลดทอนจากการแข่งขันที่รุนแรงในประเทศอินเดีย
สมมุติฐานที่สำคัญ
สมมุติฐานที่สำคัญของฟิทช์ที่ใช้ในการประมาณการ
- รายได้จากการให้บริการปรับตัวลดลงในปี 256ต่างประเทศ และ 2562 ร้อยละ 2-3 (ปี 256ฟิทช์ เรทติ้งส์: รายได้คงที่)
- EBITDA margin ที่ร้อยละ 34-36 ในปี 256ต่างประเทศ และ 2562 (256ฟิทช์ เรทติ้งส์: ร้อยละ 38)
- เงินลงทุนในการขยายโครงข่ายอยู่ที่ ต่างประเทศ.8-2.ฟิทช์ เรทติ้งส์ หมื่นล้านบาทต่อปี ในปี 256ต่างประเทศ และ 2562 (256ฟิทช์ เรทติ้งส์: 2 หมื่นล้านบาท)
- จ่ายเงินปันผลร้อยละ 5ฟิทช์ เรทติ้งส์ ของกำไรสุทธิ
ปัจจัยที่อาจมีผลต่ออันดับเครดิตในอนาคต
ปัจจัยที่อาจส่งให้มีการปรับเพิ่มอันดับเครดิต
- การปรับตัวเพิ่มขึ้นของ EBITDAR Margin ไปอยู่ในระดับสูงกว่า 4ฟิทช์ เรทติ้งส์% อย่างต่อเนื่อง ในขณะที่อัตราส่วน FFO- Adjusted Net Leverage ในระดับต่ำกว่า ต่างประเทศ.5 เท่าอย่างต่อเนื่อง
- ส่วนแบ่งทางการตลาดเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ
ปัจจัยที่อาจส่งผลให้มีการปรับลดอันดับเครดิต
- การเพิ่มขึ้นของอัตราส่วน FFO- Adjusted Net Leverage Ratio สูงกว่า 2.5 เท่าอย่างต่อเนื่อง
- สถานะทางการตลาดที่อ่อนแอลงซึ่งส่งผลให้กระแสเงินสดจากการดำเนินงานและกระแสเงินสดสุทธิอ่อนแอลง
- การเปลี่ยนแปลงของกฎหมาย หรือกฎระเบียบของกิจการโทรคมนาคมที่ส่งผลในแง่ลบต่อบริษัท
- ความสัมพันธ์ระหว่าง DTAC และ Telenor ที่ลดลง
สภาพคล่อง
สภาพคล่องที่แข็งแกร่ง: ฟิทช์มองว่า DTAC มีสภาพคล่องที่แข็งแกร่ง โดยได้รับการสนับสนุนจากเงินสดที่อยู่ในระดับสูง จำนวน 2.6 หมื่นล้านบาท ณ สิ้นปี 256ฟิทช์ เรทติ้งส์ กระแสเงินสดจากการดำเนินงานที่แข็งแกร่ง และความสามารถในการเข้าถึงแหล่งเงินกู้ บริษัทมีหนี้ที่กำหนดชำระในอีก ต่างประเทศ2 เดือน ข้างหน้าในระดับต่ำที่ 2 พันล้านบาท