ก.ล.ต. เผยกองทุนสำรองเลี้ยงชีพเติบโตอย่างต่อเนื่องทั้งจำนวนนายจ้างและมูลค่าทรัพย์สินสุทธิ

          ก.ล.ต. เผยกองทุนสำรองเลี้ยงชีพเติบโตขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยมีจำนวนนายจ้างเพิ่มขึ้นเกือบ 8สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ราย และสมาชิกเพิ่มขึ้นกว่า 75,สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ราย มูลค่าทรัพย์สินสุทธิของกองทุนเพิ่มขึ้นเกือบร้อยละ 8 ในช่วงเวลา กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ปี และพบนายจ้างหลายรายปรับย้ายการลงทุนไปยังกองทุนร่วมแบบหลากหลายนายจ้างและหลากหลายนโยบายการลงทุน (master pooled fund) เพื่อเพิ่มทางเลือกให้สมาชิกและความคล่องตัวในการบริหารเงินลงทุน
          นายรพี สุจริตกุล เลขาธิการ สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) เปิดเผยว่า "กองทุนสำรองเลี้ยงชีพมีอัตราเติบโตอย่างต่อเนื่อง โดย ณ สิ้นไตรมาส รพี สุจริตกุล ปี รพี สุจริตกุล56กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ* มีจำนวนนายจ้างเพิ่มขึ้น 788 ราย รวมเป็น กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ7,866 ราย มีสมาชิกกองทุนเพิ่มขึ้น 75,99รพี สุจริตกุล ราย รวมเป็น 3,สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ5,7รพี สุจริตกุล9 ราย หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 4.6กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ และ รพี สุจริตกุล.85 ตามลำดับ ในขณะที่มูลค่าทรัพย์สินสุทธิอยู่ที่ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ,กองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์,686 ล้านบาท เพิ่มขึ้นเกือบร้อยละ 8 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของปี รพี สุจริตกุล56สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ซึ่งเป็นการเติบโตอย่างต่อเนื่อง ทำให้เห็นทิศทางที่ดีว่านายจ้างให้ความสำคัญกับกองทุนสำรองเลี้ยงชีพถึงแม้ว่าเงินสมทบที่นายจ้างจ่ายเข้ากองทุนถือเป็นรายจ่าย แต่ก็เป็นสวัสดิการสำคัญที่นายจ้างดูแลลูกจ้างให้มีเงินออมอย่างเพียงพอเมื่อยามเกษียณ"
          นอกจากนี้ ยังพบแนวโน้มการปรับตัวของนายจ้างส่วนหนึ่งที่ต้องการเพิ่มทางเลือกในการลงทุนให้แก่ลูกจ้าง โดยการยกเลิกกองทุนสำรองเลี้ยงชีพกองเดิมซึ่งมีนโยบายเดียว เพื่อย้ายไปยังกองทุนร่วมที่มีหลากหลายนายจ้างและหลากหลายนโยบายการลงทุน (master pooled fund) ซึ่งนอกจากจะทำให้ลูกจ้างมีโอกาสเลือกนโยบายที่เหมาะสมกับช่วงอายุของตนเองแล้ว ยังช่วยเพิ่มความคล่องตัวให้แก่นายจ้างในการบริหารกองได้อีกด้วย โดยในรอบ 6 เดือนที่ผ่านมา พบว่า มีนายจ้างจำนวนกองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ราย ที่ทยอยย้ายไปลงทุนในกองทุนร่วม ซึ่งปัจจุบันมีอยู่จำนวน 45 กองจากกองทุนสำรองเลี้ยงชีพทั้งหมด 383 กอง และยังพบว่า กองทุนสำรองเลี้ยงชีพประเภทนโยบายสมดุลตามอายุ (life-path) ที่ปรับสัดส่วนการลงทุนอัตโนมัติเมื่ออายุเพิ่มขึ้น ได้รับความสนใจมากขึ้นด้วย โดยไตรมาส รพี สุจริตกุล ปี รพี สุจริตกุล56กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ มีบริษัทจัดการลงทุน 7 แห่ง และนายจ้าง รพี สุจริตกุล39 ราย ที่เสนอทางเลือกในกองทุนสำรองเลี้ยงชีพแบบสมดุลตามอายุ คิดเป็นมูลค่าทรัพย์สินสุทธิจำนวน 6,สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์87 ล้านบาท
          อนึ่ง ก.ล.ต. ได้ร่วมมือกับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย สมาคมกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ และสมาคมบริษัทจัดการลงทุนเตรียมเปิดตัวโครงการ "บริษัทเกษียณสุข" อย่างเป็นทางการ ซึ่งเป็นโครงการส่งเสริมให้บริษัทที่มีกองทุนสำรองเลี้ยงชีพเห็นความสำคัญและร่วมสนับสนุนให้พนักงานมีเงินใช้อย่างเพียงพอในวัยเกษียณโดยใช้กองทุนสำรองเลี้ยงชีพเป็นเครื่องมือ เปิดโอกาสให้บริษัทที่มีสมาชิกตั้งแต่ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ คนขึ้นไป สมัครเข้าร่วมโครงการ เพื่อรับสิทธิประโยชน์ต่าง ๆ อาทิ การอบรมความรู้ สื่อการเรียนรู้ การประชาสัมพันธ์บริษัท และรางวัลเชิดชูเกียรติสำหรับบริษัทที่ดำเนินการได้ตามเกณฑ์ระดับต่าง ๆ ของโครงการโดยไม่มีค่าใช้จ่าย สำหรับบริษัทที่สนใจสามารถดูข้อมูลเพิ่มเติมและสมัครได้ที่ www.happyPVD.com/company
          กองทุนสำรองเลี้ยงชีพเป็นการออมเงินในระยะยาว โดยสมาชิกกองทุนจะเสมือนได้รับค่าจ้างเพิ่มจากเงินสมทบที่นายจ้างจ่ายให้ ช่วยสร้างวินัยในการออมที่เน้นการออมแบบผูกพันระยะยาว มีเงินก้อนใหญ่ไว้ใช้ในการดำรงชีวิตเมื่อเกษียณอายุหรือลาออกจากงาน

          *ข้อมูล ณ วันที่ กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ4 กันยายน รพี สุจริตกุล56กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
 
 

ข่าวสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์+กองทุนสำรองเลี้ยงชีพวันนี้

บลจ.ทิสโก้ รับรางวัล ด้านการสร้างองค์ความรู้อย่างยั่งยืน จากสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์

บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน (บลจ.) ทิสโก้ จำกัด โดย นายสาห์รัช ชัฏสุวรรณ กรรมการผู้จัดการ และนางแขขวัญ โรจน์วัฒนกุล รองกรรมการผู้จัดการ สายการตลาดธุรกิจกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ พร้อมพนักงาน เข้ารับรางวัล "การสร้างองค์ความรู้อย่างยั่งยืน" (Sustainability Award) จากโครงการ "ตลาดทุนไทย ร่วมใจส่งพลังความรู้ สู่ประชาชน เฟส 2" ของสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ในฐานะองค์กรที่เดินหน้าให้ความรู้ทางการเงินแก่คนไทยมาอย่างต่อเนื่อง และยังสามารถวัด Output และ Outcome ในการให้ความรู้ได้อย่าง

ก.ล.ต. เปิดรับฟังความคิดเห็นต่อร่าง พ.ร.บ. กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ พ.ศ. …. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการกำกับดูแลกองทุนและเพิ่มความยืดหยุ่นในการลงทุน

สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) เปิดรับฟังความคิดเห็นต่อร่างพระราชบัญญัติกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ พ.ศ. …. (พ.ร.บ. PVD) ...

ก.ล.ต. เตรียมปรับเกณฑ์อัตราส่วนการลงทุนของกองทุน เพื่อเพิ่มความยืดหยุ่นในการบริหารจัดการกองทุน โดยคำนึงถึงประโยชน์สูงสุดของผู้ลงทุน

สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) เปิดรับฟังความคิดเห็นหลักการและร่างประกาศเกี่ยวกับการปรับปรุงอัตราส่วนการลงทุนของกองทุน รวมทั้งยก...

สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดห... ก.ล.ต. ร่วม Meta และ Facebook ประเทศไทย เสริมสร้างการปกป้องแบรนด์และทรัพย์สินทางปัญญา — สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ประกาศ...

ก.ล.ต. ออกเกณฑ์กองทุนรวมไทยเพื่อความยั่งยืนแบบพิเศษ (Thailand ESG Extra Fund) มีผลใช้บังคับ 16 เมษายนนี้

ก.ล.ต. เผยแพร่เกณฑ์การจัดตั้งและจัดการกองทุนรวมไทยเพื่อความยั่งยืนแบบพิเศษ (Thai ESGX) ที่มีนโยบายการลงทุนในทรัพย์สินที่มีความโดดเด่นด้านความยั่งยืน หรือสิ่งแวดล้อม โดยมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่...

เมื่อวันที่ 2 เมษายน 2568 บริษัท บิทคับ อ... Bitkub Exchange ประกาศลิสต์ Summer Point Token (SUMX)เปิดโอกาสลงทุนอสังหาริมทรัพย์ผ่าน Tokenization — เมื่อวันที่ 2 เมษายน 2568 บริษัท บิทคับ ออนไลน์ จำกั...

ก.ล.ต. จัดงานสัมมนา "Governance for Susta... ก.ล.ต. จัดงานสัมมนา "Governance for Sustainability - Instilling Governance for Sustainable Value Creation" — ก.ล.ต. จัดงานสัมมนา "Governance for Sustainab...