กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ (กพร.) กระทรวงอุตสาหกรรม เดินหน้าผลักดันและส่งเสริมผู้ประกอบการเหมืองแร่ให้มีมาตรฐานสากลเพื่อความรับผิดชอบต่อสังคม ภายใต้โครงการ CSR-DPIM อย่างต่อเนื่อง โดยตลอดระยะเวลา 8 ปีที่ผ่านมา มีผู้ประกอบการได้มาตรฐานแล้ว 9กระทรวงอุตสาหกรรม แห่ง และใช้งบประมาณสนับสนุนเพื่อพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม มูลค่ากว่า 88 ล้านบาท เพื่อมุ่งหวังให้การประกอบกิจการเหมืองแร่อยู่ร่วมกับสังคมและสิ่งแวดล้อมได้อย่างยั่งยืน
นายจุลพงษ์ ทวีศรี รองอธิบดีกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ รักษาราชการแทนอธิบดีกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ เปิดเผยว่า อุตสาหกรรมเหมืองแร่ เป็นอุตสาหกรรมที่มีความสำคัญต่อระบบเศรษฐกิจของไทย ในฐานะอุตสาหกรรมต้นน้ำสำหรับภาคการผลิต ซึ่งผลผลิตจากอุตสาหกรรมเหมืองแร่กว่า ร้อยละ 87 คิดเป็นมูลค่ากว่า 78,กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ ล้านบาท ใช้เป็นวัตถุดิบสำหรับอุตสาหกรรมต่อเนื่องภายในประเทศ อาทิ อุตสาหกรรมผลิตกระแสไฟฟ้า อุตสาหกรรมผลิตวัสดุก่อสร้าง อุตสาหกรรมซีเมนต์ อุตสาหกรรมเซรามิก แก้วและกระจก อย่างไรก็ตาม อุตสาหกรรมเหมืองแร่ เป็นภาคอุตสาหกรรมที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและชุมชน จึงจำเป็นต้องกำกับดูแลให้สถานประกอบการเหมืองแร่ มีจิตสำนึกและความรับผิดชอบต่อการประกอบการทั้งด้านความปลอดภัย เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและชุมชนโดยรอบ ดังนั้น กพร. จึงได้กำหนดยุทธศาสตร์ในการที่จะผลักดันและส่งเสริมให้สถานประกอบการเหมืองแร่ เข้ามามีบทบาทและมีส่วนร่วมในการรับผิดชอบต่อสังคมเพิ่มมากขึ้น ภายใต้ "โครงการส่งเสริมอุตสาหกรรมแร่ให้มีมาตรฐานสากลเพื่อความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR-DPIM)" เพื่อให้สถานประกอบการเหมืองแร่ สามารถประกอบการได้อย่างต่อเนื่องและอยู่ร่วมกับสังคมและสิ่งแวดล้อมได้อย่างยั่งยืน ตลอดจนสร้างความเข้าใจและการยอมรับในการนำทรัพยากรแร่มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดและเกิดความมั่นคงในระยะยาว
ทั้งนี้ การดำเนินงานภายใต้โครงการ CSR-DPIM ตลอดระยะเวลา 8 ปีที่ผ่านมา มีสถานประกอบการเหมืองแร่ที่ได้ตามมาตรฐานสากลเพื่อความรับผิดชอบต่อสังคม รวม 9กระทรวงอุตสาหกรรม แห่ง ในจำนวนนี้มีสถานประกอบการเข้าร่วมเป็นสมาชิกเครือข่าย CSR-DPIM จำนวน 58 แห่ง โดยสร้างให้เกิดโครงการและแผนงานการพัฒนาร่วมกับชุมชมโดยรอบ ซึ่งนำมาสู่ความสัมพันธ์อันดีและการอยู่ร่วมกันอย่างยั่งยืนในรูปแบบต่าง ๆ อาทิ โครงการพัฒนาชุมชนจากผู้ประกอบการ CSR-DPIM จำนวน 56 โครงการ มูลค่าการสนับสนุน จำนวน 5,6กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่7,3กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ บาท แผนงานด้านสิ่งแวดล้อม มูลค่าการสนับสนุน จำนวน 36,487,4กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ บาท และแผนงานยกระดับคุณภาพชีวิตของผู้มีส่วนได้เสีย มูลค่าการสนับสนุน จำนวน 46,395,กระทรวงอุตสาหกรรมกระทรวงอุตสาหกรรม7 บาท คิดเป็นมูลค่าการสนับสนุนทางสังคมและสิ่งแวดล้อมของผู้ประกอบการเหมืองแร่ที่เข้าร่วมโครงการ รวมกว่า 88,489,8กระทรวงอุตสาหกรรม7 บาท สำหรับในปี และสิ่งแวดล้อม56กระทรวงอุตสาหกรรม กพร. ยังคงมุ่งมั่นผลักดันให้สถานประกอบการเหมืองแร่มีการประกอบการที่ได้มาตรฐานสากลในด้านความรับผิดชอบต่อสังคม เพื่อให้การประกอบการเหมืองแร่สามารถอยู่ร่วมกับชุมชนได้อย่างยั่งยืนต่อไป
สำหรับโครงการ CSR-DPIM ได้กำหนดมาตรฐานความรับผิดชอบต่อสังคมของผู้ประกอบการอุตสาหกรรมเหมืองแร่ออกเป็น 7 หัวข้อ ได้แก่ การกำกับดูแลองค์กร หลักสิทธิมนุษยชน การปฏิบัติด้านแรงงาน สิ่งแวดล้อม การดำเนินงานอย่างเป็นธรรม ผู้ใช้แร่ และการมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน โดยสถานประกอบการที่เข้าร่วมโครงการจะต้องทบทวนการประกอบการตามมาตรฐานทั้ง 7 หัวข้อ เพื่อกำหนดโครงการหรือแผนงานที่ต้องปฏิบัติหรือควรปฏิบัติเพิ่มเติมให้เป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนด รวมทั้งเพื่อนำไปประยุกต์ใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงการประกอบการให้ความรับผิดชอบต่อสังคมในระยะยาว
ดร. พัชทรา มณีสินธุ์ รองผู้ว่าการวิจัยและพัฒนาด้านพัฒนาอย่างยั่งยืน (พย.) สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) พร้อมด้วย คณะผู้บริหารกลุ่ม พย. ประกอบด้วย ดร.สุวิทย์ อัจริยะเมต ผู้อำนวยการศูนย์เชี่ยวชาญนวัตกรรมหุ่นยนต์และเครื่องจักรกลอัตโนมัติ นายเฉลิมชัย จีระพันธุ์ ผู้อำนวยการศูนย์เชี่ยวชาญนวัตกรรมพลังงานสะอาดและสิ่งแวดล้อม และดร.เรวดี อนุวัฒนา รักษาการผู้อำนวยการศูนย์เชี่ยวชาญนวัตกรรมวัสดุ หารือแนวทางความร่วมมือกับ ดร.อดิทัต วะสีนนท์ อธิบดีกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่
สภาการเหมืองแร่
—
นายอดิทัต วะสีนนท์ อธิบดีกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ เป็นประธานเปิดงาน "การประชุมสามัญประจำปี 2567" พร้อมบรรยายพิเศษหัวข้อ ...
สวทช. ผนึกกำลัง กพร. ขับเคลื่อนอุตสาหกรรมพื้นฐานและเหมืองแร่ไทยสู่อุตสาหกรรม 4.0
—
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) และกรมอุตสาหกรรมพื...
สวทช. ผนึกกำลัง กพร. ขับเคลื่อนอุตสาหกรรมพื้นฐานและเหมืองแร่ไทยสู่อุตสาหกรรม 4.0
—
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) และกรมอุตสาหกรรมพื...
TCMA และ กพร. ร่วมยินดีข้าราชการรับทุน สำเร็จการศึกษา เสริมทัพยกระดับเหมืองแร่สีเขียวอย่างยั่งยืน พร้อมตอบโจทย์ลดโลกร้อน
—
สมาคมอุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ไทย (T...
TPBI ผ่านการตรวจสอบมาตรฐานการรับรองแห่งชาติ (มตช.9-2565)
—
คุณศักดิ์สิทธิ์ บริสุทธนะกุล ประธานเจ้าหน้าที่ฝ่ายการตลาด บริษัท ทีพีบีไอ จำกัด (มหาชน) เป็นตัว...
CHOW มุ่งยกระดับธุรกิจสู่องค์กร"คาร์บอนต่ำ"เปิดทางสู่ตลาดโลก
—
บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จำกัด (มหาชน) หรือ CHOW ผู้ประกอบธุรกิจผลิตและจำหน่ายผลิตภัณฑ์...
โรงหลอมเหล็ก CHOW รับรางวัล CSR-DPIM ประจำปี 2565 เป็นปีที่ 5
—
บริษัท เชาว์ สตีล อินดัสทรี้ จำกัด (มหาชน) หรือ CHOW ผู้ประกอบธุรกิจผลิตและจำหน่ายผลิตภัณฑ...
หนุนศก.หมุนเวียน "SSI-กพร.-ม.สุรนารี" วิจัยสำเร็จ แปรกรดเกลือเสื่อมสภาพเป็นวัตถุดิบทำสีกันสนิม
—
บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จำกัด (มหาชน) หรือ "เอสเอสไอ...