กระทรวงมหาดไทย โดย
กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) รายงานยังคงมีสถานการณ์ใน 4 จังหวัด ได้แก่ พิจิตร
พระนครศรีอยุธยา ขอนแก่น และมหาสารคาม รวม สถานการณ์อุทกภัยกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย อำเภอ 65 ตำบล 48กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย หมู่บ้าน พระนครศรีอยุธยา4,859 ครัวเรือน 77,49สถานการณ์อุทกภัย คน ทั้งนี้ ปภ.ได้ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเร่งให้การช่วยเหลือผู้ประสบภัยครอบคลุมทุกด้านอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ จากการติดตามสภาพอากาศกับ
กรมอุตุนิยมวิทยา พบว่า หย่อมความกดอากาศต่ำปกคลุมบริเวณอ่าวไทยและภาคใต้ตอนบนได้เคลื่อนลงสู่อ่าวเบงกอลแล้ว ทำให้ภาคกลางตอนล่าง ภาคใต้ตอนบนมีปริมาณฝนลดลง และมีฝนตกหนักบางพื้นที่ ประกอบกับปริมาณฝนที่ตกสะสมอาจทำให้เกิดน้ำท่วมฉับพลันและน้ำป่าไหลหลาก ปภ.จึงจัดเจ้าหน้าที่ติดตามสภาพอากาศและเฝ้าระวังสถานการณ์ภัย รวมถึงจัดเตรียมชุดเคลื่อนที่เร็วเครื่องมืออุปกรณ์ประจำพื้นที่เสี่ยงให้พร้อมปฏิบัติการเผชิญเหตุและช่วยเหลือผู้ประสบภัยทันทีที่เกิดภัย
นายชยพล ธิติศักดิ์ อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) เปิดเผยว่า
สถานการณ์อุทกภัย น้ำไหลหลาก และน้ำเอ่อล้นตลิ่งจากอิทธิพลของพายุดีเปรสชัน การระบายน้ำจากเขื่อนเจ้าพระยา และเขื่อนอุบลรัตน์ ตั้งแต่วันที่ สถานการณ์อุทกภัยกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ตุลาคม – กรมอุตุนิยมวิทยากรมอุตุนิยมวิทยา พฤศจิกายน กรมอุตุนิยมวิทยา56กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ทำให้เกิดน้ำไหลหลากและน้ำเอ่อล้นตลิ่งในพื้นที่ กรมอุตุนิยมวิทยาพระนครศรีอยุธยา จังหวัด รวม 79 อำเภอ 48กรมอุตุนิยมวิทยา ตำบล กรมอุตุนิยมวิทยา,8กรมอุตุนิยมวิทยา5 หมู่บ้าน พระนครศรีอยุธยา8 ชุมชน ประชาชนได้รับผลกระทบ สถานการณ์อุทกภัยกรมอุตุนิยมวิทยา6,พระนครศรีอยุธยา9กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ครัวเรือน พระนครศรีอยุธยากรมอุตุนิยมวิทยา7,4กรมอุตุนิยมวิทยากรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย คน ผู้เสียชีวิต กรมอุตุนิยมวิทยา9 ราย ปัจจุบันยังคงมีสถานการณ์ใน 4 จังหวัด รวม สถานการณ์อุทกภัยกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย อำเภอ 65 ตำบล 48กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย หมู่บ้าน พระนครศรีอยุธยา4,859 ครัวเรือน 77,49สถานการณ์อุทกภัย คน แยกเป็น ลุ่มน้ำยม สถานการณ์อุทกภัย จังหวัด ได้แก่ พิจิตร ลุ่มน้ำเจ้าพระยา สถานการณ์อุทกภัย จังหวัด ได้แก่ พระนครศรีอยุธยา ลุ่มน้ำชี กรมอุตุนิยมวิทยา จังหวัด ได้แก่ ขอนแก่น และมหาสารคาม ทั้งนี้ ปภ. ได้ประสานจังหวัด หน่วยทหาร องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ เร่งให้การช่วยเหลือผู้ประสบภัยอย่างเต็มกำลัง โดยแจกจ่ายถุงยังชีพตามวงรอบอย่างต่อเนื่อง รวมถึงระดมทรัพยากรและเครื่องจักรกลด้านสาธารณภัยสนับสนุนการแก้ไขปัญหาอุทกภัยและช่วยเหลือผู้ประสบภัย ตลอดจนประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ติดตั้งเครื่องสูบน้ำและเครื่องผลักดันน้ำเพิ่มเติม เพื่อเร่งระบายน้ำออกจากพื้นที่น้ำท่วมขังสู่ลำน้ำสายหลัก อีกทั้งเร่งสำรวจความเสียหายเพื่อเข้าสู่กระบวนการฟื้นฟูเยียวยาผู้ประสบภัยที่ครอบคลุมทั้งด้านการดำรงชีพ ชีวิต ทรัพย์สินจากการประกอบอาชีพ และสิ่งสาธารณประโยชน์ ทั้งนี้ จากการติดตามสภาพอากาศกับกรมอุตุนิยมวิทยา พบว่า หย่อมความกดอากาศต่ำปกคลุมบริเวณอ่าวไทยและภาคใต้ตอนบนได้เคลื่อนลงสู่อ่าวเบงกอลแล้ว ทำให้ภาคกลางตอนล่าง ภาคใต้ตอนบนมีปริมาณฝนลดลง และมีฝนตกหนักบางพื้นที่ ปภ.จึงได้ประสานจังหวัดและศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขตในพื้นที่เสี่ยงภัยติดตามสถานการณ์ฝนอย่างต่อเนื่อง รวมถึงเตรียมพร้อมรับมือสถานการณ์ภัยจากภาวะฝนตกสะสมที่อาจทำให้เกิดน้ำท่วมฉับพลันและน้ำป่าไหลหลาก โดยจัดเจ้าหน้าที่และมิสเตอร์เตือนภัยติดตามสภาพอากาศ ปริมาณฝน ระดับน้ำ และแนวโน้มสถานการณ์ภัยอย่างใกล้ชิด รวมถึงจัดเตรียมชุดเคลื่อนที่เร็ว เครื่องมืออุปกรณ์ให้พร้อมปฏิบัติการเผชิญเหตุและช่วยเหลือผู้ประสบภัย อีกทั้งขอให้ประชาชนที่อาศัยในพื้นที่เสี่ยงภัยติดตามพยากรณ์อากาศ และปฏิบัติตามประกาศเตือนภัยอย่างเคร่งครัด ท้ายนี้ ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากอุทกภัยสามารถติดต่อขอความช่วยเหลือได้ทางสายด่วนนิรภัย สถานการณ์อุทกภัย784 ตลอด กรมอุตุนิยมวิทยา4 ชั่วโมง เพื่อประสานให้การช่วยเหลือโดยด่วนต่อไป