กรมสุขภาพจิต ร่วมกับ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผนึกกำลังร่วมกับอีก 13 องค์กร และ IASSIDD ผลักดันงานวิจัยเพื่อคุณภาพชีวิตผู้พิการทางสติปัญญาทั่วโลก ยึดแนวทาง “พัฒนาอย่างยั่งยืน กลมกลืนในสังคม”

          นายอานันท์ ปันยารชุน อดีตนายกรัฐมนตรี ได้ให้เกียรติเป็นประธานเปิดการประชุมวิชาการนานาชาติในระดับเอเชียแปซิฟิก อานันท์ ปันยารชุนการประชุมวิชาการนานาชาติจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย7IASSIDD 4th Asia-Pacific Regional Congress ส่งเสริมการวิจัยและแลกเปลี่ยน องค์ความรู้ในการดูแลผู้พิการทางสติปัญญา ณห้อง Convention Hall A-B รร.แอมบาสเดอร์ สุขุมวิท กทม. โดยกล่าวให้ความสำคัญต่อการค้นหากลยุทธ์และรูปแบบของการพัฒนาและสนับสนุนผู้พิการทางสติปัญญา ผ่านนโยบายภาครัฐ ที่สอดคล้องกับระบบการให้บริการจากทุกภาคส่วนของสังคม นำไปสู่ความเป็นหนึ่งเดียวในชุมชน ผู้พิการได้รับการยอมรับ ไม่ถูกละเลยทั้งในเรื่องนโยบายการพัฒนาคุณภาพชีวิต การสนับสนุนให้พึ่งพาตนเองได้ คุณภาพของครอบครัว การจ้างงานและมีอาชีพตลอดจนถึงการเข้าถึงโอกาสและการยอมรับทางสังคม
          ด้าน ศาสตราจารย์ ดอกเตอร์ บัณฑิต เอื้ออาภรณ์ อธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้สะท้อนถึงความสำคัญของการศึกษาทั้งในโรงเรียนและในสังคม โดยระบบที่เอื้อต่อผู้พิการจะต้องรวมถึงการประเมิน การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน การเอื้อให้เข้าถึงโอกาสและสิทธิในทุกระดับชั้นการศึกษา อีกทั้งยังต้องมีกลไกของการเรียนรู้ตลอดชีวิตเช่นเดียวกับผู้เรียนรู้กลุ่มทั่วไปอื่นๆในสังคม
          ขณะที่ นาวาอากาศตรี นายแพทย์บุญเรือง ไตรเรืองวรวัฒน์อธิบดีกรมสุขภาพจิต กล่าวว่า สิ่งสำคัญที่สุดของกระบวนการดูแลเด็กที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา คือ ต้องพบให้เร็ว เพื่อให้การช่วยเหลือได้ทัน ซึ่งจะทำให้คุณภาพชีวิตของพวกเขาดีขึ้นได้ จึงต้องมีการดูแลเป็นพิเศษ เข้าใจกระบวนการพัฒนาการของเขา อาศัยความร่วมมือจากทุกภาคส่วนช่วยกัน ทั้งพ่อแม่ แพทย์ และครูผู้สอน ""เด็กเหล่านี้สามารถใช้ชีวิตร่วมกับคนในสังคมได้ เติบโตเป็นพลเมืองที่มีคุณภาพที่ดีได้ หากได้รับการดูแลช่วยเหลือตั้งแต่เริ่มต้นที่สำคัญที่สุด อยากให้สังคมยอมรับว่า พวกเขามีคุณค่าและศักดิ์ศรีเช่นเดียวกับทุกคน ซึ่งจะทำให้พวกเขามีความภาคภูมิใจที่จะอยู่ในสังคมได้""
          ทั่วโลก มีผู้พิการทางสติปัญญา 76 ล้านคน ประเทศไทย มีจำนวน 65การประชุมวิชาการนานาชาติ,การประชุมวิชาการนานาชาติการประชุมวิชาการนานาชาติการประชุมวิชาการนานาชาติ คน ช่วงอายุ 5-จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย9 ปี ประมาณ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยอานันท์ ปันยารชุน3,3การประชุมวิชาการนานาชาติการประชุมวิชาการนานาชาติ คน เข้าถึงบริการทางสุขภาพ ร้อยละ 5.59การประชุมครั้งนี้ ประเทศไทย โดยกรมสุขภาพจิต ได้รับเกียรติจากThe International Association for the Scientific Study of Intellectual and DevelopmentalDisabilities (IASSIDD) ซึ่งเป็นองค์กรที่สนับสนุนการศึกษาและแลกเปลี่ยนองค์ความรู้เกี่ยวกับผู้พิการทางสติปัญญา ให้เป็นเจ้าภาพจัดประชุมวิชาการนานาชาติในระดับเอเชียแปซิฟิค เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ประสบการณ์ แนวทางในการดูแลช่วยเหลือเด็กบกพร่องทางสติปัญญาจากผู้รู้และผู้เชี่ยวชาญทั่วโลก เพื่อให้เด็กได้รับการดูแลอย่างมีประสิทธิภาพต่อไป อธิบดีกรมสุขภาพจิต กล่าว
          ในโอกาสนี้ ศาสตราจารย์ดร.ฟิลลิป เดวิดสัน มหาวิทยาลัยแพทย์และทันตกรรม แห่งเมืองโรเชสเตอร์ (University of Rochester School of Medicine and Dentistry) ประธาน IASSIDD ได้ระบุว่า การประชุมวิชาการนานาชาติ อานันท์ ปันยารชุนการประชุมวิชาการนานาชาติจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย7 IASSIDD 4th Asia Pacific Regional Congress ในครั้งนี้ มีผู้เข้าร่วมประชุมจากทุกภูมิภาคของโลก รวมทั้งสิ้นกว่า6การประชุมวิชาการนานาชาติการประชุมวิชาการนานาชาติ คน จากประมาณ อานันท์ ปันยารชุน9 ประเทศมีผลงานวิจัยที่เป็นต้นแบบนวัตกรรมซึ่งจะมีผลต่อการผลักดันคุณภาพชีวิตผู้พิการทางสติปัญญามากกว่า จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยการประชุมวิชาการนานาชาติการประชุมวิชาการนานาชาติ เรื่อง เช่น ผลงานวิจัยที่สะท้อนลักษณะสำคัญของธุรกิจที่จัดตั้งขึ้นเพื่อสังคม (Social enterprise) ซึ่งต้องไม่เน้นเพียงเรื่องของการจ่ายค่าจ้าง แต่ยังต้องเป็นงานที่มีความหมายในการให้โอกาสแก่ผู้พิการได้เรียนรู้ทักษะด้านอาชีพและทักษะที่สังคมยอมรับหรือเห็นคุณค่า รวมถึงยังช่วยพัฒนาสัมพันธภาพทางสังคมของผู้พิการทางสติปัญญาด้วย 
          นอกจากนี้ ยังมีงานวิจัยที่บ่งบอกว่าพี่น้องของผู้พิการทางสติปัญญาเป็นอีกส่วนในครอบครัวที่มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดปัญหาความเครียด และปัญหาคุณภาพชีวิต รวมทั้งเกิดความห่างเหินจากพ่อแม่ สังคมจึงต้องให้ความสำคัญต่อการเกื้อหนุนผู้พิการทางสติปัญญาในรูปแบบที่มองครอบครัวเป็นศูนย์กลางอย่างเป็นองค์รวม(Holistis family-centric support) เป็นต้น การจัดประชุมครั้งนี้ จัดขึ้นระหว่างวันที่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย3-จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย6พฤศจิกายน อานันท์ ปันยารชุน56การประชุมวิชาการนานาชาติ ณ โรงแรมแอมบาสเดอร์ สุขุมวิท กรุงเทพฯ สามารถติดตามข้อมูลได้ทางwww.rajanukul.go.th และwww.iassidd.org
กรมสุขภาพจิต ร่วมกับ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผนึกกำลังร่วมกับอีก 13 องค์กร และ IASSIDD ผลักดันงานวิจัยเพื่อคุณภาพชีวิตผู้พิการทางสติปัญญาทั่วโลก ยึดแนวทาง “พัฒนาอย่างยั่งยืน กลมกลืนในสังคม”
 

ข่าวการประชุมวิชาการนานาชาติ+จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยวันนี้

คณะครุศาสตร์ จุฬาฯ - คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เตรียมจัดประชุมวิชาการนานาชาติ CU-KU International Symposium in Education 2025 ความร่วมมือ

รศ.ดร.ยศวีร์ สายฟ้า คณบดีคณะครุศาสตร์ จุฬาฯ และ ผศ.ดร.อุดมลักษม์ กูลศรีโรจน์ คณบดีคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ร่วมแถลงข่าวโครงการประชุมวิชาการนานาชาติ CU-KU International Symposium in Education 2025: "Inclusive Society: Innovating for an Inclusive and Equitable Future" ซึ่งเป็นความร่วมมือระหว่างสองสถาบันที่มีเป้าหมายร่วมกันในการสร้างเครือข่ายและสร้างพื้นที่แห่งการแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ที่จะนำไปสู่การพัฒนาสังคมการเรียนรู้ที่ครอบคลุมและยุติธรรมสำหรับผู้เรียนทุกคน เมื่อเร็ว ๆ นี้

นายโชคชัย สงสม กรรมการผู้จัดการ บริษัท ซี... ซีเอเค อินเตอร์เนชั่นแนล รับโล่รางวัลและประกาศเกียรติคุณรางวัล Thailand Vision Zero Award — นายโชคชัย สงสม กรรมการผู้จัดการ บริษัท ซีเอเค อินเตอร์เนชั่นแน...

เฟพอน (Fapon) บริษัทชีววิทยาศาสตร์ชั้นนำร... เฟพอน ร่วมงาน JITMM 2023 โชว์ความเชี่ยวชาญด้านการตรวจวินิจฉัยโรค — เฟพอน (Fapon) บริษัทชีววิทยาศาสตร์ชั้นนำระดับโลก ขึ้นเวทีแสดงความเชี่ยวชาญในการประชุมวิ...

ดร.ชุติมา เอี่ยมโชติชวลิต ผู้ว่าการสถาบัน... วว.เข้าร่วมประชุมวิชาการนานาชาติ APCTT ณ กรุงทาชเคนต์ ประเทศอุซเบกิสถาน — ดร.ชุติมา เอี่ยมโชติชวลิต ผู้ว่าการสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไ...

คุณปรีชา นันท์นฤมิต (ที่ 2 จากขวา ) ประธา... EFORL ออกบูธโชว์ศักยภาพเครื่องมือแพทย์ — คุณปรีชา นันท์นฤมิต (ที่ 2 จากขวา ) ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร พร้อมคณะทีมผู้บริหาร บริษัท อี ฟอร์ แอล เอม จำกัด ...