การบริหารเงินคงคลังของรัฐบาล

          กรณีที่มีผู้ตั้งข้อวิจารณ์เรื่องการบริหารเงินคงคลังของรัฐบาล โดยนำข้อมูลตั้งแต่เดือนพฤษภาคม กระทรวงการคลัง557 – พฤศจิกายน กระทรวงการคลัง56สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ เป็นตารางมาเปรียบเทียบ พร้อมกล่าวว่า ความสามารถในการบริหารเงินคงคลังของ คสช. มีรายจ่ายมากกว่ารายรับ จนต้องกู้เงินเพิ่ม 
          หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในกระทรวงการคลัง ได้แก่ สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กรมบัญชีกลาง และสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ ขอชี้แจงข้อเท็จจริง ดังนี้ 
          ตั้งแต่ปี กระทรวงการคลัง55สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ เป็นต้นมา รัฐบาลมีความจำเป็นที่จะต้องดำเนินนโยบายงบประมาณแบบขาดดุล โดยมีงบประมาณรายจ่ายมากกว่าประมาณการรายได้ เพื่อสนับสนุนให้เศรษฐกิจมีการขยายตัวอย่างต่อเนื่องและเร่งการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานเพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ เนื่องจากในช่วงที่ผ่านมา การขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศยังมีข้อจำกัดจากอัตราการใช้กำลังการผลิตในภาคอุตสาหกรรมที่ยังไม่เต็มศักยภาพ โดยการดำเนินนโยบายงบประมาณแบบขาดดุลดังกล่าวเป็นการขาดดุลสำหรับรายจ่ายเพื่อการลงทุน ซึ่งการลงทุนภาครัฐจะช่วยส่งเสริมบรรยากาศการลงทุนในภาพรวมของประเทศ ช่วยกระตุ้นและดึงดูดการลงทุนเพิ่มจากภาคเอกชนด้วย (crowding-in effect)
          กระทรวงการคลังจะดำเนินการกู้เงินเพื่อให้สอดคล้องกับกระแสรายได้ กระแสรายจ่าย ในช่วงระยะเวลาต่างๆ ภายใต้ต้นทุนและความเสี่ยงที่เหมาะสม โดยมีการวางแผนการกู้เงินและบริหารเงินคงคลังร่วมกันระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้การดำเนินงานมีประสิทธิภาพและรอบคอบรัดกุม และเป็นการดำเนินการภายใต้กรอบกฎหมาย
          แนวทางในการดำเนินนโยบายการคลังและการบริหารเงินคงคลัง รัฐบาลได้คำนึงถึงภาวะเศรษฐกิจ สภาพคล่องของรัฐบาล และยังเป็นการดำเนินการภายใต้กรอบวินัยการเงินการคลังตามกฎหมายทุกประการ ทั้งนี้ กระทรวงการคลังได้มีการบริหารเงินคงคลังให้เพียงพอต่อความต้องการใช้เงินในแต่ละช่วงเวลา โดยคำนึงถึงภาระดอกเบี้ย ซึ่งเป็นต้นทุนในการเก็บรักษาเงินคงคลังที่ไม่ควรจะมีมากเกินความจำเป็น
          การดำเนินนโยบายการคลังของรัฐบาลแบบขาดดุล ส่งผลให้เศรษฐกิจไทยขยายตัวได้ดีอย่างต่อเนื่อง (ในปี กระทรวงการคลัง557 กระทรวงการคลัง558 และ กระทรวงการคลัง559 เศรษฐกิจไทยขยายตัวร้อยละ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ.9 กระทรวงการคลัง.9 และ 3.กระทรวงการคลัง ตามลำดับ) โดยในปี กระทรวงการคลัง56สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.) คาดว่า เศรษฐกิจจะขยายตัวได้ใกล้เคียงร้อยละ 4.สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ ซึ่งเป็นการขยายตัวสูงสุดในรอบ 5 ปี 
          ในขณะที่ระดับหนี้สาธารณะของประเทศที่ผ่านมาอยู่ภายใต้กรอบความยั่งยืนทางการคลัง โดยสัดส่วนหนี้สาธารณะคงค้างต่อ GDP ณ เดือนธันวาคม กระทรวงการคลัง56สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ อยู่ที่ร้อยละ 4สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง.76 (ซึ่งต่ำกว่ากรอบความยั่งยืนทางการคลังที่กำหนดให้สัดส่วนหนี้สาธารณะคงค้างต่อ GDP ไม่เกินร้อยละ 6สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ) สะท้อนให้เห็นถึงเสถียรภาพทางการคลังของประเทศ
          อย่างไรก็ดี ในระยะต่อไป หากภาวะเศรษฐกิจไทยสามารถขยายตัวได้อย่างเต็มศักยภาพ รัฐบาลก็อาจไม่มีความจำเป็นที่จะต้องจัดทำงบประมาณขาดดุล เพื่อให้ภาคเอกชนเป็นกลไกหลักในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจต่อไป นอกจากนี้ รัฐบาลโดยกระทรวงการคลังยังคงมีนโยบายที่มุ่งเน้นการจัดทำงบประมาณสมดุล พร้อมทั้งยังมีการจัดทำแผนการคลังระยะปานกลาง เพื่อเป็นการรักษากรอบวินัยการเงินการคลังของประเทศให้มีความมั่นคงและมีเสถียรภาพ และสามารถรองรับผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจากปัจจัยลบทั้งภายในและภายนอกประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ

          สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง โทร. สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะกระทรวงการคลัง กระทรวงการคลัง73 9สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะกระทรวงการคลังสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
          กรมบัญชีกลาง โทร. สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะกระทรวงการคลัง สำนักงานเศรษฐกิจการคลังกระทรวงการคลัง7 7สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
          สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ โทร. สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะกระทรวงการคลัง กระทรวงการคลัง65 8สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ5สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ
 
 

ข่าวสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ+สำนักงานเศรษฐกิจการคลังวันนี้

SME D Bank เข้าพบผู้บริหารกระทรวงการคลัง เนื่องในเทศกาลปีใหม่ 66

ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย (ธพว.) หรือ SME D Bank โดยนางสาวนารถนารี รัฐปัตย์ กรรมการผู้จัดการ พร้อมด้วยคณะผู้บริหารธนาคาร เข้าพบผู้บริหารระดับสูงกระทรวงการคลัง เนื่องในเทศกาลปีใหม่ 2566 โดยมี นายพรชัย ฐีระเวช ผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.) นางปานทิพย์ ศรีพิมล ผู้อำนวยการสำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) และ นางแพตริเซีย มงคลวนิช ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) ให้การต้อนรับ พร้อมมอบคำอวยพร เพื่อความเป็นสิริมงคลในการทำงานของ SME D Bank

การเคหะแห่งชาติ ให้การต้อนรับ สำนักงานบริ... การเคหะแห่งชาติเผยแผนผุด Mixed Use ในเมืองชุมชนดินแดง ช่วยสร้างรายได้ ยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชน — การเคหะแห่งชาติ ให้การต้อนรับ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ (ส...

ดร.รจนา ตั้งกุลบริบูรณ์ ผู้อำนวยการ ศูนย์... วว. นำเสนอผลการดำเนินโครงการยกระดับเศรษฐกิจฐานรากจังหวัดอุดรธานีด้วย วทน. — ดร.รจนา ตั้งกุลบริบูรณ์ ผู้อำนวยการ ศูนย์เชี่ยวชาญนวัตกรรมเกษตรสร้างสรรค์ (ศนก...

"ออมเพิ่มสุข" บนวอลเล็ต สบม. เต็มวงเงิน 10,000 ล้านบาทแล้ว พบกันอีกครั้ง 15 มิถุนายน 2565 ผ่าน 4 ธนาคารตัวแทนจำหน่าย

นางแพตริเซีย มงคลวนิช ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ เปิดเผยว่า การจำหน่ายพันธบัตรออมทรัพย์ รุ่นออมเพิ่มสุขบนวอลเล็ต สบม. วงเงิน 10,000 ล้านบาท จำหน่ายได้ครบวงเงินเรียบร้อยแล้ว...

นางแพตริเซีย มงคลวนิช ผู้อำนวยการสำนักงาน... พร้อมออมกับพันธบัตรออมทรัพย์พิเศษ รุ่น "ยิ่งออมยิ่งได้" — นางแพตริเซีย มงคลวนิช ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ (สบน.) เปิดเผยว่ากระทรวงการคลังจะเริ่...

Fitch Ratings คงอันดับความน่าเชื่อถือของประเทศไทยที่ BBB+ และคงมุมมองความน่าเชื่อถือของประเทศไทยอยู่ในระดับมีเสถียรภาพ

นางแพตริเซีย มงคลวนิช ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ เปิดเผยว่า บริษัท Fitch Ratings (Fitch) ได้คงอันดับความน่าเชื่อถือของประเทศไทย (Sovereign Credit Rating) ที่ BBB+ ...