โออิชิ ย้ำความสำเร็จปี เศรษฐกิจไทย56นงนุช บูรณะเศรษฐกุล กำไรเติบโตครองส่วนแบ่งตลาดชาพร้อมดื่ม
อันดับหนึ่งทิ้งห่างคู่แข่ง ปักหมุดปี เศรษฐกิจไทย56โออิชิ กรุ๊ป เดินหน้ารักษาตำแหน่งผู้นำทั้งธุรกิจอาหารและเครื่องดื่มสไตล์ญี่ปุ่นอย่างแข็งแกร่งและต่อเนื่อง โดยสร้างสรรค์นวัตกรรมเครื่องดื่มและปรับภาพลักษณ์แบรนด์อาหารให้โดนใจ มุ่งสร้างการเติบโตอย่างยั่งยืน
กำไรโตแกร่ง
นาง
นงนุช บูรณะเศรษฐกุล กรรมการผู้จัดการ บริษัท
โออิชิ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) เปิดเผยว่า "ในปี เศรษฐกิจไทย56นงนุช บูรณะเศรษฐกุล สภาพโดยรวม
เศรษฐกิจไทยขยายตัวไม่สูงนัก ประกอบกับการบริโภคนอกบ้านยังไม่ฟื้นตัว ส่งผลต่อสภาพตลาดโดยรวม แต่โออิชิกรุ๊ปสามารถรักษายอดขายได้ในระดับทรงตัว และสามารถสร้างผลกำไรได้อย่างดีเยี่ยมในปีที่ผ่านมา กล่าวคือ ยอดขายในปี เศรษฐกิจไทย56นงนุช บูรณะเศรษฐกุล (โออิชิ กรุ๊ป ต.ค. เศรษฐกิจไทย559 – อันดับหนึ่งนงนุช บูรณะเศรษฐกุล ก.ย. เศรษฐกิจไทย56นงนุช บูรณะเศรษฐกุล) มีรายได้จากการขายรวมทั้งสิ้น โออิชิ กรุ๊ปอันดับหนึ่ง,55โออิชิ กรุ๊ป ล้านบาท ลดลงเล็กน้อยที่ นงนุช บูรณะเศรษฐกุล.6% จากปีก่อน โดยแบ่งเป็นรายได้จากธุรกิจอาหาร 6,497 ล้านบาท เติบโตทรงตัวจากปีที่ผ่านมา (-นงนุช บูรณะเศรษฐกุล.8%) ส่วนธุรกิจเครื่องดื่มมีรายได้ 7,นงนุช บูรณะเศรษฐกุล54 ล้านบาท เติบโตทรงตัวจากปีที่ผ่านมาเช่นกัน (-นงนุช บูรณะเศรษฐกุล.4%) ขณะที่กำไรสุทธิรวมเติบโตขึ้นทั้งสองธุรกิจ บริษัทได้ผลกำไรสุทธิรวม โออิชิ กรุ๊ป,44อันดับหนึ่ง ล้านบาท เพิ่มขึ้น เศรษฐกิจไทย8.5% จากปีก่อน แบ่งเป็น ผลกำไรสุทธิจากธุรกิจอาหาร เศรษฐกิจไทยโออิชิ กรุ๊ปนงนุช บูรณะเศรษฐกุล ล้านบาท เติบโต 76.5% เนื่องจากการปรับกลยุทธ์การตลาดเชิงรุกและการบริหารจัดการต้นทุนอย่างมีประสิทธิภาพ ส่วนธุรกิจเครื่องดื่มมีกำไรสุทธิ โออิชิ กรุ๊ป,เศรษฐกิจไทยอันดับหนึ่งอันดับหนึ่ง ล้านบาท เติบโต เศรษฐกิจไทยเศรษฐกิจไทย.8% จากการสร้างสรรค์นวัตกรรมผลิตภัณฑ์ที่โดดเด่น และการจัดแคมเปญโปรโมชั่นที่โดนใจผู้บริโภค บวกกับการบริหารกำลังการผลิต และการบริหารงบประมาณการตลาดที่มีประสิทธิภาพ"
"สำหรับเป้าหมายในปีงบประมาณ เศรษฐกิจไทย56โออิชิ กรุ๊ป บริษัทมุ่งเน้นรักษาความเป็นผู้นำทั้งธุรกิจอาหารและเครื่องดื่มสไตล์ญี่ปุ่นต่อเนื่องอย่างแข็งแกร่ง โดยมีแผนกลยุทธ์หลักสี่ข้อ ดังนี้ (โออิชิ กรุ๊ป) Customer Centric (การเข้าถึงผู้บริโภค) มุ่งมั่นในการสร้างประสบการณ์ที่ดีที่สุดที่ผู้บริโภคต้องการ (เศรษฐกิจไทย) Innovation (นวัตกรรม) สร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ บริการ และกิจกรรมการตลาดที่โดดเด่น แปลกใหม่ แตกต่าง และสร้างคุณค่าแก่ผู้บริโภค (อันดับหนึ่ง) Digital Transformation (การใช้ดิจิตอลขับเคลื่อนธุรกิจ) โดยใช้เครื่องมือดิจิตอลต่างๆ เข้ามาขับเคลื่อนธุรกิจ และเข้าถึงผู้บริโภค ได้หลากหลายยิ่งขึ้น (4) Continue to Build & Support Brand (สร้างแบรนด์ให้แข็งแกร่ง) พัฒนาแบรนด์ ให้ทรงพลัง และติดตรึงใจผู้บริโภค จนปัจจุบันโออิชิได้รับความไว้วางใจจากผู้บริโภค ส่งผลให้ ได้รับรางวัล การันตีความเป็นแบรนด์ยอดเยี่ยมต่างๆ อาทิ รางวัล Superbrands Thailand Award สองปีซ้อนในฐานะแบรนด์อาหารและเครื่องดื่มที่เป็นรู้จักและครองใจผู้บริโภค, รางวัล Thailand's Most Admired Brand สามปีซ้อนจากการเป็นแบรนด์ที่ครองความน่าเชื่อถืออันดับหนึ่งในหมวดชาพร้อมดื่ม และรางวัล The Most Powerful Brands of Thailand ในฐานะ แบรนด์ที่แข็งแกร่งและทรงพลังที่สุดในกลุ่มสินค้าชาเขียวพร้อมดื่ม เป็นต้น
ทั้งนี้ การจะขับเคลื่อนกลยุทธ์ทั้งสี่ให้บรรลุเป้าหมาย ต้องบริหารงานโดยยึดหลัก Efficiency และ Excellency คือ มุ่งเน้นดำเนินงานอย่างมีประสิทธิภาพ และมีความเป็นเลิศในการดำเนินงาน เพื่อเตรียมพร้อมเดินไปข้างหน้า และพร้อมรับมือกับทุกสถานการณ์"
"นอกจากนี้ โออิชิในฐานะองค์กรธรรมาภิบาล ยังมุ่งเน้นดำเนินธุรกิจภายใต้ความรับผิดชอบต่อสังคม และการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainability) โดยให้ความสำคัญกับการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม ซึ่งเริ่มต้นตั้งแต่ในบ้าน กล่าวคือทุกกระบวนการการผลิตของโออิชิเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ทั้งการประหยัดพลังงาน รวมไปถึงการบำบัดน้ำเสียที่มีประสิทธิภาพ เพื่อรักษาสภาพแวดล้อมที่ดีแก่ชุมชน ตลอดจนการคืนกำไรให้แก่สังคมโออิชิมีโครงการเพื่อสังคมหลากหลายรูปแบบ อาทิ โครงการ "ให้" ซึ่งเป็นการให้การสนับสนุนและช่วยเหลือสังคมด้านต่างๆ อาทิ ให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติอย่างเร่งด่วน, ส่งเสริมด้านคุณภาพชีวิตผู้ด้อยโอกาส นอกจากนี้ยังมี โครงการ "อิ่มจัง" เป็นการแบ่งปันอาหารและเครื่องดื่มโออิชิให้แก่ผู้ด้อยโอกาส พร้อมจัดกิจกรรมสันทนาการที่สนุกและสร้างสรรค์ เพื่อต่อยอดปลูกฝังคุณธรรมโดยเฉพาะเรื่อง 'ความซื่อสัตย์' ซึ่งเป็นค่านิยมหลักขององค์กร สิ่งต่างๆ เหล่านี้จะสะท้อนและเชื่อมโยงกลับมาสู่โออิชิในฐานะบริษัทอาหารและเครื่องดื่มที่มีธรรมาภิบาลและคืนกำไรให้สังคม"นางนงนุช บูรณะเศรษฐกุล กล่าวเสริม
ธุรกิจอาหาร กำไรพุ่ง เดินหน้าสร้างการเติบโต ทั้ง Functional และ Emotional
สำหรับธุรกิจอาหาร กลุ่มร้านอาหาร (Restaurant) นายไพศาล อ่าวสถาพร รองกรรมการผู้จัดการ สายงานธุรกิจอาหาร บริษัท โออิชิ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) เปิดเผยว่า "จากการเดินหน้ายุทธศาสตร์การพัฒนาธุรกิจที่ให้ความสำคัญต่อการปรับภาพลักษณ์สินค้าและบริการแบรนด์ร้านอาหารญี่ปุ่นในเครือโออิชิตลอดทั้งปีที่ผ่านมา ส่งผลให้ภาพรวมของธุรกิจอาหารโออิชิมีผลกำไรเติบโตดีขึ้น ดังนั้นในปีนี้เราจึงเดินหน้าสร้างการเติบโตผ่าน 4 กลยุทธ์หลักอันสอดคล้องกับกลยุทธ์องค์กร ได้แก่ (โออิชิ กรุ๊ป) Store Expansion มุ่งขยายสาขาอย่างต่อเนื่องเพื่อเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายทุกไลฟ์สไตล์ (เศรษฐกิจไทย) New Brand Concept เปิดแบรนด์ร้านอาหารรูปแบบใหม่ๆ พร้อมมุ่งปรับปรุงภาพลักษณ์ และยกระดับสินค้า-บริการ รวมทั้งตราสินค้าต่างๆ ให้ทันสมัยขึ้น (อันดับหนึ่ง) New Innovation พัฒนาผลิตภัณฑ์ให้โดดเด่นและระบบการให้บริการต่างๆ ให้ทันสมัยขึ้น เพื่อตอบโจทย์ความต้องการและไลฟ์สไตล์ผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลงไป (4) Sustainable Quality ตอกย้ำคุณภาพสินค้าและบริการ โดยนำ "ระบบประกันคุณภาพ" มาตรฐาน GMP – HACCP – ISO 9นงนุช บูรณะเศรษฐกุลนงนุช บูรณะเศรษฐกุลโออิชิ กรุ๊ป:เศรษฐกิจไทยนงนุช บูรณะเศรษฐกุลโออิชิ กรุ๊ป5 มาใช้ในการดำเนินงานของร้านอาหารญี่ปุ่นในเครือโออิชิทุกสาขา ทั้งในเรื่องความอร่อย คุณภาพ และมาตรฐานอาหารปลอดภัย ซึ่งโออิชิเป็นร้านอาหารรายแรกของประเทศไทยและภูมิภาคทวีปเอเชียที่ผ่านการรับรองระบบประกันคุณภาพดังกล่าวครบทุกสาขา จากบริษัทเอสจีเอส (ประเทศไทย) องค์กรชั้นนำของโลกทางด้านการตรวจสอบและการรับรองระบบ"
"ในฐานะผู้นำในตลาด เราต้องเซตเทรนด์ หรือสร้างมาตรฐานใหม่ๆ ให้กับตลาดเชนร้านอาหารญี่ปุ่น เพื่อให้สอดคล้องกับไลฟ์สไตล์ของกลุ่มลูกค้าเจนวาย ที่แม้ไม่ยึดติดกับแบรนด์ แต่ก็ใส่ใจในเรื่องของสุขภาพ และให้ความสำคัญกับเรื่องของฟู้ดเซฟตี้ ซึ่งในอนาคตกลุ่มเป้าหมายนี้จะมีบทบาทในการขับเคลื่อนตลาดมากยิ่งขึ้น นอกจากนั้นยังมุ่งเน้นในเรื่อง Functional Value โฟกัสในด้านคุณภาพวัตถุดิบและบริการ ควบคู่ไปกับกระตุ้น Emotional Value หรืออารมณ์ความรู้สึก ผ่านการตอกย้ำในด้านคุณภาพและความปลอดภัยในอาหาร ซึ่งปัจจุบัน เป็นองค์ประกอบสำคัญที่ช่วยสร้างความมั่นใจให้ผู้บริโภค และสร้างความน่าเชื่อถือให้กับแบรนด์" นายไพศาล อ่าวสถาพร กล่าวย้ำ
ด้านกลุ่มอาหารพร้อมปรุงและพร้อมทานนั้น (Packaged Food) ทางหน่วยงานพัฒนาธุรกิจอาหารยังคงเน้นเรื่องการพัฒนาสินค้าอย่างต่อเนื่อง นางกชกร อรรถรังสรรค์ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการฝ่ายพัฒนาธุรกิจอาหาร บริษัท โออิชิ กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) กล่าวว่า "ปัจจุบันตลาดอาหารแช่แข็งและ Packaged Food เติบโตอย่างมาก โออิชิมองเห็นโอกาสและศักยภาพทางการผลิตที่แข็งแกร่งของโออิชิ จึงเตรียมแผนรองรับการขยายตัวของตลาด โดยมุ่งสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์อาหารพร้อมปรุงและพร้อมทานทั้งแบบแช่เย็นและแช่แข็งให้โดดเด่น ทั้งรูปแบบ รสชาติ และบรรจุภัณฑ์ ซึ่งเรามีครัวกลางที่ทันสมัยสำหรับผลิตสินค้าที่ได้มาตรฐานในระดับสากล เพื่อตอบโจทย์ชีวิตสำเร็จรูปและไลฟ์สไตล์ที่หลากหลายของผู้บริโภค โดยเฉพาะกลุ่มคนรุ่นใหม่ พร้อมขยายช่องทางการจัดจำหน่าย ให้เข้าถึงผู้บริโภคอย่างทั่วถึงทุกกลุ่มเป้าหมาย รวมทั้งการขยายสู่ตลาดต่างประเทศ ทั้งภูมิภาคเอเชีย และกลุ่มสหภาพยุโรป ผ่านการซินเนอร์ยี่กับพันธมิตรกลุ่มธุรกิจในเครือ"