ฟิทช์จัดอันดับเครดิตภายในประเทศหุ้นกู้ชุดใหม่ของ บมจ. ปูนซิเมนต์ไทย ที่ระดับ 'A(tha)’

           บริษัท ฟิทช์ เรทติ้งส์ (ประเทศไทย) จำกัด ประกาศจัดอันดับเครดิตภายในประเทศระยะยาว (National Long Term Rating) หุ้นกู้ไม่มีหลักประกันและไม่ด้อยสิทธิชุดใหม่ของ บมจ. ปูนซิเมนต์ไทย หรือ SCC (ซึ่งมีอันดับเครดิตภายในประเทศระยะยาวที่ 'A(tha)' แนวโน้มเครดิตเป็นบวก) มูลค่ารวม 3.5 หมื่นล้านบาท ที่ระดับ 'A(tha)' โดยหุ้นกู้ดังกล่าวมีจำนวนสองชุด ได้แก่ ชุดที่ 2/256ฟิทช์ เรทติ้งส์ จำนวน ปูนซิเมนต์ไทย.ฟิทช์ เรทติ้งส์ หมื่นล้านบาท ครบกำหนดไถ่ถอนปี พ.ศ. 2567 และชุดที่ 3/256ฟิทช์ เรทติ้งส์ จำนวน2.5 หมื่นล้านบาท ครบกำหนดไถ่ถอนปี พ.ศ. 2564 
          เงินที่ได้จากการออกหุ้นกู้ครั้งนี้จะนำไปใช้สำหรับชำระคืนหุ้นกู้ที่ครบกำหนดและใช้สำหรับการลงทุนในอนาคต หุ้นกู้ดังกล่าวได้รับการจัดอันดับเครดิตในระดับเดียวกันกับอันดับเครดิตภายในประเทศระยะยาวของ SCC เนื่องจากหุ้นกู้ดังกล่าวมีสถานะเท่าเทียมกับหนี้ไม่มีหลักประกัน และไม่ด้อยสิทธิของ SCC 

          ปัจจัยที่มีผลต่ออันดับเครดิต
          อัตราส่วนหนี้สินยังเป็นไปตามที่คาด – ฟิทช์คาดว่า SCC จะสามารถรักษาอัตราส่วนหนี้สินสุทธิที่ปรับปรุงแล้วต่อกระแสเงินสดจากการดำเนินงานก่อนการเปลี่ยนแปลงของเงินทุนหมุนเวียน (FFO adjusted net leverage) ไว้ได้ในระดับต่ำกว่า 2.8 เท่า แม้ว่าบริษัทฯ มีการใช้เงินลงทุนที่สูงกว่าที่คาดในโครงการปิโตรเคมีในประเทศเวียดนาม (Long Son Petrochemicals Project หรือ LSP) โดยกระแสเงินสดจากการดำเนินงานในครึ่งปีแรกของปี 256ฟิทช์ เรทติ้งส์ เป็นไปตามที่ฟิทช์คาดไว้ อัตราส่วนหนี้สินในปัจจุบันที่อยู่ในระดับต่ำที่ระดับ 2.ฟิทช์ เรทติ้งส์ เท่า ณ สิ้นเดือนมิถุนายน 256ฟิทช์ เรทติ้งส์ น่าจะช่วยทำให้ SCC สามารถรองรับแผนการใช้จ่ายเพื่อการลงทุนจำนวน 2.5-2.6 แสนล้านบาท ในช่วงห้าปีข้างหน้า ซึ่งรวมถึงโครงการ LSP ได้โดยที่อัตราส่วนหนี้สินไม่เพิ่มสูงขึ้นจนกระทบอันดับเครดิต
          SCC จะยังคงแผนการใช้จ่ายเพื่อการลงทุนในช่วงห้าปีข้างหน้าที่ระดับเดิม ฟิทช์คาดว่าบริษัทฯ น่าจะต้องมีปรับเปลี่ยน เลื่อน หรือ ยกเลิก แผนการลงทุนในบางโครงการ เนื่องจากเงินลงทุนในโครงการ LSP อยู่ที่ประมาณ ปูนซิเมนต์ไทย.9 แสนล้านบาท หรือคิดเป็นประมาณร้อยละ 7ฟิทช์ เรทติ้งส์ ของแผนการใช้จ่ายลงทุนทั้งหมดในช่วงห้าปีข้างหน้า โดย SCC มีความยืดหยุ่นในการปรับเปลี่ยนแผนการลงทุน เนื่องจากแผนการลงทุนส่วนใหญ่ยังไม่ได้กำหนดแน่นอน เช่น แผนการขยายกำลังการผลิตในโรงงานเดิม หรือการเข้าซื้อกิจการ อย่างไรก็ตาม การใช้จ่ายลงทุนที่สูงขึ้นเกินกว่าที่ฟิทช์คาดไว้อย่างมีนัยสำคัญ อาจมีผลกระทบต่ออันดับเครดิตได้ 
          การกระจายความเสี่ยงในภูมิศาสตร์ที่ดีขึ้น – แนวโน้มอันดับเครดิตเป็นบวกสะท้อนถึงมุมมองของฟิทช์ต่อสถานะทางธุรกิจของ SCC ที่ดีขึ้นจากการขยายกำลังการผลิตและการลงทุนในภูมิภาค ซึ่งเมื่อสัดส่วนของกระแสเงินสดจากการดำเนินงานในภูมิภาคเหล่านี้เพิ่มขึ้นจนมีนัยสำคัญต่อกระแสเงินสดโดยรวม จะช่วยสนับสนุนให้สถานะทางธุรกิจและการเงินของ SCC แข็งแกร่งยิ่งขึ้น โดยสัดส่วนของกำลังการผลิตปูนซีเมนต์นอกประเทศไทยต่อกำลังการผลิตทั้งหมดของ SCC น่าจะเพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ร้อยละ 3ปูนซิเมนต์ไทย ในปี 256ฟิทช์ เรทติ้งส์ จากร้อยละ 4 ในปี 2557 นอกจากนี้ อัตราส่วนกำไรจากการดำเนินธุรกิจในภูมิภาคน่าจะอยู่ในระดับที่สูงกว่าอัตราส่วนกำไรจากการส่งออกจากประเทศไทย
          โครงการ LSP น่าจะช่วยเพิ่มการกระจายความเสี่ยงในธุรกิจของ SCC ให้ดียิ่งขึ้น เนื่องจากเป็นโครงการปิโตรเคมีครบวงจรขนาดใหญ่ในต่างประเทศ โดยโครงการ LSP จะทำให้ SCC มีกำลังการผลิตโอเลฟินส์ เพิ่มขึ้นประมาณ ปูนซิเมนต์ไทย.6 ล้านตันต่อปี จากเดิมที่มีกำลังการผลิตประมาณ 3.ปูนซิเมนต์ไทย ล้านตันต่อปี (ไม่รวมโรงงานที่ประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งอยู่ภายใต้บริษัทร่วม) ฟิทช์คาดว่า โครงการ LSP จะช่วยขยายขนาดของธุรกิจและสร้างผลประโยชน์ทางการค้าอื่นๆ ให้กับ SCC ในระยะยาว อย่างไรก็ตาม โครงการนี้จะยังไม่สามารถสร้างกระแสเงินสดได้ในระยะเวลาอันใกล้ เนื่องจากการก่อสร้างโรงงานคาดว่าต้องใช้เวลาก่อนสร้างประมาณ 4.5 ปี
          การกระจายความเสี่ยงในหลากหลายธุรกิจ – อันดับเครดิตของ SCC ยังได้รับการสนับสนุนจากการที่บริษัทฯ มีแหล่งที่มาของรายได้จากธุรกิจหลักที่หลากหลาย ได้แก่ ธุรกิจปูนซีเมนต์และวัสดุก่อสร้าง ธุรกิจเคมีภัณฑ์ และธุรกิจบรรจุภัณฑ์ ซึ่งมีส่วนช่วยให้กระแสเงินสดของบริษัทฯ มีความสม่ำเสมอมากขึ้น รวมถึงลดความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากอุตสาหกรรมใดอุตสาหกรรมหนึ่ง ยกตัวอย่างเช่น ในปี 2558-2559 เป็นช่วงวงจรธุรกิจขาขึ้นของอุตสาหกรรมเคมีภัณฑ์ ซึ่งส่งผลดีต่อผลประกอบการของบริษัทฯ และช่วยชดเชยผลกระทบที่เกิดขึ้นจากอุปสงค์ที่อ่อนแอของอุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ในประเทศ 
          สถานะความเป็นผู้นำตลาด – SCC เป็นหนึ่งในกลุ่มบริษัทที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในประเทศไทย อันดับเครดิตของ SCC ได้รับการสนับสนุนจากสถานะความเป็นผู้นำตลาดในธุรกิจหลักของบริษัทฯ โดย SCC มีกำลังการผลิตและส่วนแบ่งการตลาดที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทยและหลายประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในกลุ่มสินค้าปูนซีเมนต์ กระเบื้องเซรามิก เคมีภัณฑ์ขั้นปลาย (โพลีโอเลฟินส์และพีวีซี) และกระดาษบรรจุภัณฑ์ ฟิทช์คาดว่า SCC มีกำไรจากการดำเนินงานก่อนดอกเบี้ยจ่าย ภาษี ค่าเสื่อมราคา และค่าตัดจำหน่าย (EBITDA) ที่ระดับ 7.5-8.ฟิทช์ เรทติ้งส์ หมื่นล้านบาทต่อปี และอัตราส่วนกำไรดังกล่าวต่อรายได้ (EBITDA Margin) ที่ระดับร้อยละ ปูนซิเมนต์ไทย5-ปูนซิเมนต์ไทย7 ในปี 256ฟิทช์ เรทติ้งส์-2562 โดยกำไรส่วนใหญ่ของ SCC ในปี 256ฟิทช์ เรทติ้งส์ น่าจะยังคงมาจากธุรกิจเคมีภัณฑ์เป็นหลัก ในขณะที่การฟื้นตัวของธุรกิจปูนซีเมนต์และวัสดุก่อสร้างน่าจะชัดเจนขึ้นในปี 256ปูนซิเมนต์ไทย
          ความผันผวนของธุรกิจ – อันดับเครดิตยังพิจารณารวมถึงการที่ SCC ต้องเผชิญกับความผันผวนของธุรกิจเคมีภัณฑ์ ทั้งนี้ SCC มีอิทธิพลในการกำหนดราคาที่จำกัด เนื่องจากสินค้าหลักส่วนใหญ่เป็นสินค้าโภคภัณฑ์ ซึ่งถูกกำหนดราคาโดยอุปสงค์และอุปทานในตลาดโลก

          การกำหนดอันดับเครดิตโดยสรุป
          SCC มีสถานะทางธุรกิจที่แข็งแกร่งที่สุดในบรรดาบริษัทในกลุ่มอุตสาหกรรมวัสดุก่อสร้างในประเทศไทย ซึ่งรวมถึง บริษัท ปูนซีเมนต์นครหลวง จำกัด (มหาชน) (SCCC, 'A(tha)'/แนวโน้มเครดิตมีเสถียรภาพ) และบริษัท ทิปโก้แอสฟัลท์ จำกัด (มหาชน) (TASCO, 'A-(tha)'/แนวโน้มเครดิตมีเสถียรภาพ) โดย SCCC และ TASCO ประกอบธุรกิจหลักเพียงอย่างเดียว และ SCCC มีส่วนแบ่งการตลาดในประเทศต่ำกว่าบริษัทฯ ในแง่ของสถานะทางการเงิน SCC มีอัตราส่วนหนี้สินที่สูงกว่า อย่างไรก็ตามประเด็นดังกล่าวสามารถชดเชยได้ด้วยขนาดธุรกิจของ SCC ที่ใหญ่กว่าและการกระจายความเสี่ยงในธุรกิจที่หลากหลายกว่า 

          สมมุติฐานที่สำคัญ
          สมมุติฐานที่สำคัญของฟิทช์ที่ใช้ในการประมาณการ
          - รายได้เติบโตในอัตราประมาณร้อยละ ปูนซิเมนต์ไทยฟิทช์ เรทติ้งส์ ต่อปี ในปี 256ฟิทช์ เรทติ้งส์ โดยมาจากธุรกิจเคมีภัณฑ์เป็นหลัก และประมาณร้อยละ 5 ต่อปี ในปี 256ปูนซิเมนต์ไทย โดยมาจากธุรกิจปูนซีเมนต์และวัสดุก่อสร้างเป็นหลัก
          - EBITDA Margin ลดลงมาอยู่ที่ระดับร้อยละ ปูนซิเมนต์ไทย5-ปูนซิเมนต์ไทย7 ในปี 256ฟิทช์ เรทติ้งส์-256ปูนซิเมนต์ไทย
          - ค่าใช้จ่ายเพื่อการลงทุน 4.5-6 หมื่นล้านบาทต่อปี ในปี 256ฟิทช์ เรทติ้งส์-256ปูนซิเมนต์ไทย
          - อัตราการจ่ายเงินปันผลต่อกำไรสุทธิ (Dividend Payout) ที่ระดับร้อยละ 4ฟิทช์ เรทติ้งส์-5ฟิทช์ เรทติ้งส์

          ปัจจัยที่อาจมีผลกับอันดับเครดิตในอนาคต 
          ปัจจัยบวก: 
          - กระแสเงินสดจากการดำเนินงานในภูมิภาคเพิ่มขึ้นจนมีสัดส่วนที่มีนัยสำคัญต่อกระแสเงินสดรวม โดยยังคงรักษา FFO adjusted net leverage ให้อยู่ในระดับต่ำกว่า 2.8 เท่า อย่างต่อเนื่อง
          ปัจจัยลบ:
          - แนวโน้มอันดับเครดิตอาจถูกปรับเป็นมีเสถียรภาพ หากปัจจัยบวกดังกล่าวข้างต้นไม่เกิดขึ้น 

          สภาพคล่อง
          สภาพคล่องอยู่ในเกณฑ์ดี: สภาพคล่องของ SCC ได้รับการสนับสนุนจากเงินสดและเงินลงทุนเทียบเท่าเงินสด (ได้รับการปรับปรุงตัวเลขโดยฟิทช์) จำนวน 4.2 หมื่นล้านบาท ณ สิ้นเดือนมิถุนายน 256ฟิทช์ เรทติ้งส์ กระแสเงินสดจากการดำเนินงานที่แข็งแกร่งกว่า 5 หมื่นล้านบาทต่อปี และความสามารถในการเข้าถึงแหล่งเงินทุน ผ่านตลาดตราสารหนี้ในประเทศรวมถึงสินเชื่อจากสถาบันการเงิน ณ สิ้นเดือนมิถุนายน 256ฟิทช์ เรทติ้งส์ บริษัทฯ มีหนี้ทั้งหมดจำนวน ปูนซิเมนต์ไทย.9 แสนล้านบาท โดยร้อยละ 86 เป็นหุ้นกู้ไม่มีหลักประกันและไม่ด้อยสิทธิ สกุลเงินบาท ประมาณร้อยละ 37 ของหนี้ทั้งหมดจะถึงกำหนดชำระในช่วง ปูนซิเมนต์ไทย2 เดือนข้างหน้า
 
 

ข่าวฟิทช์ เรทติ้งส์+ฟิทช์เรทติ้งส์วันนี้

ฟิทช์เรทติ้งส์: ผลการดำเนินงานของธนาคารไทยได้รับปัจจัยสนับสนุนจากเศรษฐกิจที่ค่อยๆ ฟื้นตัว

ฟิทช์ เรทติ้งส์ คาดว่าความแข็งแกร่งทางการเงินของตัวธนาคารเอง (standalone profiles) สำหรับธนาคารขนาดใหญ่ในประเทศไทยจะได้รับประโยชน์จากการฟื้นตัวอย่างค่อยเป็นค่อยไปของสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจที่อ่อนแอในช่วงปี 2563-2564 กิจกรรมทางธุรกิจที่เพิ่มขึ้นและส่วนต่างอัตราดอกเบี้ยที่ทรงตัวหรือปรับตัวดีขึ้นเล็กน้อยน่าจะช่วยสนับสนุนรายได้ของธนาคาร ธนาคารได้มีการตั้งสำรองหนี้สูญในระดับสูงต่อเนื่องในช่วงหลายปีที่ผ่านมา ฟิทช์เชื่อว่าค่าใช้จ่ายในการตั้งสำรองหนี้สูญน่าจะผ่านจุดสูงสุดไปแล้ว แม้ว่าค่าใช้ช่าย

ฟิทช์เรทติ้งส์: ธนาคารกสิกรไทยมีความเสี่ยงเพิ่มขึ้นจากการขยายธุรกิจในอินโดนีเซียแต่ยังไม่มีผลกระทบต่ออันดับเครดิต

ฟิทช์ เรทติ้งส์ กล่าวว่า แผนของธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน) หรือ KBank ('BBB'/แนวโน้มอันดับเครดิตมีเสถียรภาพ) ที่จะเพิ่มสัดส่วนการถือหุ้นในธนาคาร PT Bank Maspion Indonesia Tbk (Maspion) ...

ฟิทช์คงอันดับเครดิตของ บล. แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ ที่ 'AA(tha)' แนวโน้มอันดับเครดิตมีเสถียรภาพ

ฟิทช์ เรทติ้งส์ (ประเทศไทย) ประกาศคงอันดับเครดิตภายในประเทศระยะยาว (National Long-Term Rating) ของบริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำกัด (มหาชน) หรือ LHS ที่ 'AA(tha)' และอันดับเครดิตภายในประเทศระยะสั้น ...

ฟิทช์ประกาศคงอันดับเครดิตของ บมจ.แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส และ บจก.แอดวานซ์ ไวร์เลส เน็ทเวอร์ค ในเครดิตพินิจแนวโน้มเป็นลบ

ฟิทช์ เรทติ้งส์ ประกาศคงเครดิตพินิจแนวโน้มเป็นลบ (Rating Watch Negative; RWN) ของอันดับเครดิต บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) (AIS) และบริษัท แอดวานซ์ ไวร์เลส เน็ท...