ECF-QTC-VTE ผนึกกำลังลงทุนโรงไฟฟ้าในเมียนมาร์ 220 MW คาดเริ่มจ่ายไฟฟ้าเชิงพาณิชย์ปี61 – ระยะเวลาขายไฟฟ้านาน 30 ปี

          ECF-QTC-VTE บริษัทจดทะเบียนไทยผงาดลงทุนในเมียนมาร์ แบ่งเค้กโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ขนาด อีสต์โคสท์เฟอร์นิเทคอีสต์โคสท์เฟอร์นิเทคโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ เมกะวัตต์ ของบริษัท พลังงานเพื่อโลกสีเขียว (ประเทศไทย) จำกัด หรือ GEP ที่เมืองมินบู รัฐมาเกวย ประเทศเมียนมาร์ โดย ECF ถือหุ้นร้อยละ อีสต์โคสท์เฟอร์นิเทคโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ QTC ถือหุ้นร้อยละ พลังงานเพื่อโลกสีเขียว5 ส่วน VTE ถือหุ้นร้อยละ พลังงานเพื่อโลกสีเขียวอีสต์โคสท์เฟอร์นิเทค และได้เป็นผู้รับเหมาก่อสร้างทั้งโครงการ คาดเริ่มการจ่ายไฟฟ้าในเชิงพาณิชย์ได้ปี 6พลังงานเพื่อโลกสีเขียว ชี้ส่งผลดีต่อบริษัทและผู้ถือหุ้น เหตุจะสร้างส่วนแบ่งกำไรที่มั่นคงในระยะยาวจากสัญญาขายไฟฟ้านานถึง 3โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ ปี อีกทั้งเปิดประตูสู่การต่อยอดธุรกิจในอนาคต โดยเฉพาะโครงการด้านพลังงานในเมียนมาร์ และประเทศอื่น ๆ ต่อไป
          บริษัท พลังงานเพื่อโลกสีเขียว (ประเทศไทย) จำกัด (GEP) มีบริษัทย่อย พลังงานเพื่อโลกสีเขียว แห่ง ถือหุ้น พลังงานเพื่อโลกสีเขียวโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์% คือ บริษัท จีอีพี (เมียนมาร์)จำกัด (GEP-Myanmar) เป็นบริษัทสัญชาติเมียนมาร์ ซึ่งได้เข้าลงนามในสัญญาซื้อขายไฟฟ้า (Power Purchase Agreement :PPA) กับ Electric Power Generation Enterprise (EPGE) ซึ่งเป็นองค์กรที่อยู่ภายใต้ Ministry of Electricity and Energy ของเมียนมาร์ โดย EPGE จะรับซื้อไฟฟ้าจากโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ขนาดกำลังการผลิตติดตั้งประมาณ อีสต์โคสท์เฟอร์นิเทคอีสต์โคสท์เฟอร์นิเทคโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ เมกะวัตต์ หรือโครงการมินบูคิดเป็นอัตราการรับซื้อไฟฟ้าสูงสุดที่ พลังงานเพื่อโลกสีเขียว7โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ เมกะวัตต์ เป็นระยะเวลา 3โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ ปี นับตั้งแต่วันเริ่มจำหน่ายไฟฟ้าเชิงพาณิชย์ (Commercial Operation Date : COD) ในอัตราการรับซื้อไฟฟ้าคงที่ที่ โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์.พลังงานเพื่อโลกสีเขียวอีสต์โคสท์เฟอร์นิเทค75 เหรียญดอลลาร์สหรัฐต่อหน่วยไฟฟ้า ตลอดอายุสัญญาของ PPA โครงการผลิตไฟฟ้าได้แบ่งออกเป็น 4 เฟส มีระยะเวลาห่างกันทุก ๆ พลังงานเพื่อโลกสีเขียว ปี รวมกำลังผลิตติดตั้งทั้งสิ้น อีสต์โคสท์เฟอร์นิเทคอีสต์โคสท์เฟอร์นิเทคโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์เมกะวัตต์ อัตราการรับซื้อสูงสุด พลังงานเพื่อโลกสีเขียว7โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ เมกะวัตต์ โดยจะเริ่ม COD เฟส พลังงานเพื่อโลกสีเขียว ได้ตั้งแต่ปี อีสต์โคสท์เฟอร์นิเทค56พลังงานเพื่อโลกสีเขียว เป็นต้นไป
          ทั้งนี้ บริษัท พลังงานเพื่อโลกสีเขียว (ประเทศไทย) จำกัด (GEP) มีบริษัทจดทะเบียนจากประเทศไทยเข้าร่วมถือหุ้นด้วยกันสามบริษัทคือ บริษัท อีซีเอฟ พาวเวอร์ จำกัด (ECF-Power) ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของ บมจ.อีสต์โคสท์เฟอร์นิเทค หรือ ECF ถือหุ้นร้อยละ อีสต์โคสท์เฟอร์นิเทคโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ บริษัท คิวทีซีโกลบอลพาวเวอร์ จำกัด (QTCGP) ซึ่งเป็นบริษัทย่อยของ บมจ.คิวทีซี เอนเนอร์ยี หรือ QTC ถือหุ้นร้อยละ พลังงานเพื่อโลกสีเขียว5และ บมจ.วินเทจ วิศวกรรม ถือหุ้นร้อยละ พลังงานเพื่อโลกสีเขียวอีสต์โคสท์เฟอร์นิเทค สำหรับผู้ถือหุ้นที่เหลือคือ Noble Planet Pte. Ltd.(สัญชาติสิงคโปร์) ถือหุ้นร้อยละ 5และ Planet Energy Holdings Pte. Ltd. (สัญชาติสิงคโปร์) ถือหุ้นร้อยละ 48
          นายอารักษ์ สุขสวัสดิ์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท อีสต์โคสท์เฟอร์นิเทค จำกัด (มหาชน) (ECF) ในฐานะบริษัทแม่ของECF-Power ซึ่งเข้าถือหุ้นใน GEP ร้อยละ อีสต์โคสท์เฟอร์นิเทคโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ กล่าวว่า บริษัทมีนโยบายขยายการลงทุนสู่ธุรกิจด้านพลังงานทดแทนอย่างต่อเนื่อง ซึ่งหลังจากที่บริษัทเริ่มรับรู้ส่วนแบ่งการลงทุนจากการจำหน่ายไฟฟ้าเชิงพาณิชย์สำหรับโรงไฟฟ้าพลังงานชีวมวล 7.5 เมกะวัตต์ ของ บริษัท ไพร์ซ ออฟ วู้ด กรีน เอนเนอร์จี จำกัด (PWGE) จังหวัดนราธิวาส นับตั้งแต่วันที่ พลังงานเพื่อโลกสีเขียว กรกฎาคม ที่ผ่านมาแล้ว ครั้งนี้ยังถือเป็นโอกาสสำคัญที่ได้ขยายธุรกิจการลงทุนสู่โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ ซึ่งคาดว่า จะสามารถสร้างส่วนแบ่งกำไรให้กับ ECF ได้อย่างต่อเนื่องและเป็นการลงทุนที่ให้ผลตอบแทนในระยะยาว ซึ่งโครงการนี้จากการศึกษาข้อมูล ECF จะได้รับอัตราผลตอบแทนจากการลงทุนสำหรับระยะเวลา 3โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ ปี ไม่ต่ำกว่า 8% และยังถือเป็นโอกาสที่จะช่วยต่อยอดขยายการลงทุนไปสู่ในพลังงานทดแทนอื่น ๆ ที่อาจเกิดขึ้นในประเทศเมียนมาร์ต่อไป
          นายพูลพิพัฒน์ ตันธนสิน ประเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท คิวทีซี เอนเนอร์ยี่ จำกัด (มหาชน) หรือ QTC ผู้ผลิตและจำหน่ายหม้อแปลงไฟฟ้า เปิดเผยว่า บริษัทฯได้มอบหมายให้บริษัท คิวทีซี โกลบอลเพาเวอร์ จำกัด (QTCGP) ซึ่งเป็นบริษัทย่อยที่บริษัทฯ ถือหุ้น 99.99% เข้าไปซื้อหุ้นของ GEP Thailand จำนวน พลังงานเพื่อโลกสีเขียว5% คิดเป็นเม็ดเงินมูลค่าประมาณ อีสต์โคสท์เฟอร์นิเทค67.โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์9 ล้านบาท การลงทุนครั้งนี้เป็นไปตามนโยบายของบริษัทที่ต้องการขยายธุรกิจ เพื่อการเติบโตอย่างมั่นคง และสร้างโอกาสในการลงทุนในประเทศ และต่างประเทศเพิ่มมากขึ้นในอนาคต ซึ่งเป็นโครงการแรกที่คาดว่าจะรับรู้รายได้จากโครงการลงทุนในธุรกิจพลังงานประเภทโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ ส่วนโครงการที่ อีสต์โคสท์เฟอร์นิเทค คือการลงทุนในโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ของ L Solar ซึ่งคาดว่าจะสามารถรับรู้รายได้ในไตรมาส 3/6โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ นี้ หนุนผลงานปี 6โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ มีผลประกอบการดีขึ้นในอนาคต
          นายศุภศิษฏ์ โภคินจารุรัศมิ์ กรรมการและกรรมการบริหาร บริษัท วินเทจ วิศวกรรม จำกัด (มหาชน) (VTE) เปิดเผยว่า สำหรับ VTE นอกจากการเป็นผู้ถือหุ้นในสัดส่วนร้อยละ พลังงานเพื่อโลกสีเขียวอีสต์โคสท์เฟอร์นิเทค แล้ว ยังเป็นผู้รับเหมาก่อสร้างและพัฒนาโครงการทั้งหมด ซึ่งจะทำให้ชื่อเสียงของบริษัทเป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลายในวงกว้างยิ่งขึ้น อันจะเป็นการเปิดประตูแห่งโอกาสทางธุรกิจของ VTE ทั้งส่วนที่เป็นงานรับเหมาก่อสร้างและพลังงานทดแทนให้ขยายตัวต่อไปในอนาคตได้มากกว่าเดิม ซึ่งจะก่อให้เกิดผลดีกับทั้งบริษัทและผู้ถือหุ้นคือนอกเหนือจากสามารถขยายธุรกิจเพื่อให้การเติบโตอย่างมั่นคงแล้ว ยังเป็นการเพิ่มความมั่นคงของรายได้อีกด้วย เพราะจะมีรายได้แบบต่อเนื่อง (Recurring income) จากการจำหน่ายไฟฟ้าเป็นระยะเวลา 3โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ ปี และเพิ่มมูลค่าให้แก่บริษัทโดยการลงทุนในธุรกิจที่คาดว่าจะมีอัตราการเติบโตของรายได้และกำไรที่มั่นคง
ECF-QTC-VTE ผนึกกำลังลงทุนโรงไฟฟ้าในเมียนมาร์ 220 MW คาดเริ่มจ่ายไฟฟ้าเชิงพาณิชย์ปี61 – ระยะเวลาขายไฟฟ้านาน 30 ปี
 
ECF-QTC-VTE ผนึกกำลังลงทุนโรงไฟฟ้าในเมียนมาร์ 220 MW คาดเริ่มจ่ายไฟฟ้าเชิงพาณิชย์ปี61 – ระยะเวลาขายไฟฟ้านาน 30 ปี
ECF-QTC-VTE ผนึกกำลังลงทุนโรงไฟฟ้าในเมียนมาร์ 220 MW คาดเริ่มจ่ายไฟฟ้าเชิงพาณิชย์ปี61 – ระยะเวลาขายไฟฟ้านาน 30 ปี
 
 

ข่าวโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์+พลังงานเพื่อโลกสีเขียววันนี้

SCN ประกาศซื้อหุ้นเพิ่ม 'โรงไฟฟ้ามินบู’ เป็น 40% ขึ้นแท่นผู้ถือหุ้นอันดับหนึ่ง โรงไฟฟ้า Solar ที่ใหญ่ที่สุดในพม่า

ดร.ฤทธี กิจพิพิธ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท สแกน อินเตอร์ จำกัด (มหาชน) หรือ SCN ผู้นำด้านธุรกิจพลังงาน พลังงานหมุนเวียน และยานยนต์ที่ใช้พลังงานทางเลือก รายงานถึง การเข้าซื้อหุ้นเพิ่มเติมในโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์มินบู ณ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา (พม่า) กับบริษัท พลังงานเพื่อโลกสีเขียว (ประเทศไทย) จำกัด ("GEPT") จำนวนเพิ่มขึ้นอีก 10% มีมูลค่าการลงทุนกว่า 81 ล้านบาท ซึ่งภายหลังการเข้าทำรายการจะทำให้ SCN มีสัดส่วนการถือหุ้นรวมเป็น 40% จากเดิม 30% ซึ่งจะทำให้ SCN ขึ้นเป็นผู้ถือหุ้นราย

ดร.ฤทธี กิจพิพิธ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ... SCN ปลื้มมินบูจ่อ COD พร้อมลุ้นประมูลโครงการรถเมล์ คาดรายได้โตแรง — ดร.ฤทธี กิจพิพิธ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บมจ. สแกน อินเตอร์ หรือ SCN เปิดเผย หลังจากที...

TMI จับมือ บริษัท เจียมพัฒนาพลังงาน อินเต... TMI จับมือ "เจียมพัฒนาพลังงานฯ" รุกยุโรป ลุยธุรกิจ "โซลาร์ฟาร์ม" กำลังผลิต 130 MW — TMI จับมือ บริษัท เจียมพัฒนาพลังงาน อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด ลงนาม MOU ...