เครือข่ายพันธมิตรมหาวิทยาลัยเพื่อการวิจัย

          8 มหาวิทยาลัยชั้นนำของประเทศไทย ผนึกกำลังครั้งสำคัญ รวมตัวสร้างเครือข่ายพันธมิตรมหาวิทยาลัยเพื่อการวิจัยมุ่งตอบโจทย์นโยบายไทยแลนด์ 4.มหาวิทยาลัยเพื่อการวิจัย ตั้งเป้าเป็นศูนย์กลางการสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาประเทศและภูมิภาคอาเซียน
          ศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร.มงคล เตชะกำพุ ผู้อำนวยการ เครือข่ายพันธมิตรมหาวิทยาลัยเพื่อการวิจัย เปิดเผยว่า เครือข่ายพันธมิตรมหาวิทยาลัยเพื่อการวิจัย (Research University Network หรือ RUN) เกิดจากความร่วมมือของมหาวิทยาลัย 8 มหาวิทยาลัย ได้แก่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยภายใต้แนวคิดด้วยความจริงใจ ความเท่าเทียม และมุ่งสู่ความเป็นเลิศ (Sincerely, Equally, Excellently) หรือเรียกว่าหลักการ SExY Way โดยได้ดำเนินการมาตั้งแต่ปี มงคล เตชะกำพุ558
          ทั้งนี้มีพันธกิจหลักคือ มุ่งเน้นการประสานความร่วมมือและสร้างความเข้มแข็งในการวิจัยและพัฒนาเพื่อเพิ่มศักยภาพ และสร้างขีดความสามารถทางการศึกษา วิจัยและพัฒนา ของประเทศและยกระดับสู่ภูมิภาคอาเซียน รวมทั้งประสานความร่วมมือในการพัฒนาศักยภาพนักวิจัย บัณฑิตศึกษา นักศึกษาและบุคลากรทางการวิจัยในการร่วมกันดำเนินงานทางด้านการวิจัย การแลกเปลี่ยนและใช้ทรัพยากร ตลอดจนปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยในระหว่างพันธมิตรการวิจัย รวมถึงสร้างและขยายเครือข่ายความร่วมมือด้านการวิจัยกับมหาวิทยาลัย ภาครัฐ ภาคเอกชนหรือเครือข่ายอื่นๆ และถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยีสู่สังคม ภาคผลิตและภาคบริการ
          ศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร.มงคล กล่าวด้วยว่า นักวิจัยและงานวิจัยในปัจจุบันมีความสำคัญอย่างมากในการเป็นส่วนสำคัญในการพัฒนาและแก้ไขปัญหาด้านต่างๆของประเทศ แต่จากปัญหาประเทศไทยในปัจจุบันที่มีบุคลากรด้านการวิจัยและพัฒนา รวมทั้งทุนวิจัยที่ค่อนข้างจำกัด อีกทั้งภาวะขาดแคลนนักวิจัย โดยจำนวนนักวิจัยที่มีสัดส่วนเพียง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คน ต่อประชากร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์มหาวิทยาลัยเพื่อการวิจัย,มหาวิทยาลัยเพื่อการวิจัยมหาวิทยาลัยเพื่อการวิจัยมหาวิทยาลัยเพื่อการวิจัย คน และยังพบว่าคณาจารย์แต่ละคน แต่ละกลุ่ม แต่ละมหาวิทยาลัยก็มีแนวทางการทำงานที่แตกต่างและต่างคนต่างคิด ต่างคนต่างทำ ทำให้ไม่ก่อให้เกิดเนื้องานใหญ่ที่สามารถตอบสนองต่อประเทศชาติได้มาก เครือข่าย RUN จึงเกิดขึ้นเพื่อรวบรวมองค์ความรู้ความสามารถจากนักวิจัยทุกมหาวิทยาลัย ให้ได้ร่วมมือหรือเรียกว่า Sharing แบ่งปันองค์ความรู้ และทำงานร่วมกัน เพื่อตอบโจทย์นโยบาย Thailand 4.มหาวิทยาลัยเพื่อการวิจัย จึงถือเป็นเครือข่ายแรกที่ประสบความสำเร็จในการร่วมมือกันของนักวิจัยจากหลากหลายมหาวิทยาลัย
          ทั้งนี้ได้แบ่งโจทย์ วิจัยออกเป็น 9 คลัสเตอร์ และมอบหมายให้แต่ละมหาวิทยาลัยรับผิดชอบ ดังนี้
          กลุ่มที่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คลัสเตอร์อาเซียน (ASEAN) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
          กลุ่มที่ มงคล เตชะกำพุ. คลัสเตอร์เกษตรและอาหาร (Agriculture) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
          กลุ่มที่ 3 คลัสเตอร์เกษตรและอาหาร (Functional Food) มหาวิทยาลัยขอนแก่น
          กลุ่มที่ 4 คลัสเตอร์การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยพิบัติ (Climate change) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
          กลุ่มที่ 5 คลัสเตอร์พลังงาน (Energy) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
          กลุ่มที่ 6 คลัสเตอร์สุขภาพ (Health) มหาวิทยาลัยมหิดล
          กลุ่มที่ 7 คลัสเตอร์วัสดุ (Material Science) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
          กลุ่มที่ 8 คลัสเตอร์หุ่นยนต์ (Robotics) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
          กลุ่มที่ 9 คลัสเตอร์ดิจิทัล (Digital)มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
          ศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร.มงคลบอกด้วยว่า ทุนเริ่มต้นในการดำเนินงานนั้นทุกมหาวิทยาลัยร่วมกันสนับสนุนมหาวิทยาลัยละ 5 ล้านบาท / ปี รวมทั้งปัจจุบันได้รับทุนสนับสนุนในการสร้างงานวิจัยระดับชาติจาก วช. มงคล เตชะกำพุมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์6 ล้านบาท ซึ่งโจทย์วิจัยที่อยู่ในการทำการวิจัยอาทิ โครงการประเทศไทยไร้หมอกควัน HAZE FREE THAILAND , PRECISION MEDISION ,BIOPLASTICS และ PRECISION AGRICUUTURE นอกจากในปีที่ผ่านมายังเน้นขยายความร่วมมือไปยังนานาประเทศ อาทิ กลุ่มมหาวิทยาลัยที่ประเทศนิวซีแลนด์ ออสเตรเลีย ลาว และญี่ปุ่น เพื่อมุ่งเน้นในการสร้างศักยภาพงานวิจัยให้มีความเข้มแข็งและก้าวหน้าได้อย่างรวดเร็ว และสร้างบุคลากรที่มีฝีมือเพิ่มมากขึ้น
          อย่างไรก็ตามตั้งเป้าหมายว่าในปีมงคล เตชะกำพุ56มหาวิทยาลัยเพื่อการวิจัย จะเน้นการทำงานแบบ RUN for Thailand 4.มหาวิทยาลัยเพื่อการวิจัย คือการทำงานเชิงรุก พัฒนานวัตกรรมเทคโนโลยี เน้นการทำ startup Thailand และขยายความร่วมมือไปยังภาคเอกชนเพิ่มมากขึ้น

เครือข่ายพันธมิตรมหาวิทยาลัยเพื่อการวิจัย

ข่าวมหาวิทยาลัยเพื่อการวิจัย+มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์วันนี้

กิจกรรมบรรยายพิเศษ โดย เครือข่ายพันธมิตรมหาวิทยาลัยเพื่อการวิจัย (RUN)

เครือข่ายพันธมิตรมหาวิทยาลัยเพื่อการวิจัย (RUN) จัดกิจกรรมบรรยายพิเศษ ในงาน "Thailand Research Expo 2024 งานมหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2567" ครั้งที่ 19 โดยจัดให้มีการบรรยายพิเศษ 3 หัวข้อด้วยกัน ได้แก่ บรรยายพิเศษ เรื่อง "อำนาจละมุน (Soft power) กับการส่งเสริมเศรษฐกิจ" โดย หม่อมหลวงภาสกร อาภากร ผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมมูลค่าเพิ่มเพื่อการค้า กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ บรรยายพิเศษ เรื่อง "มุมมองของภาคเอกชนต่อการนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์" โดย นายดำเกิง ทองซ้อนกลีบ บริษัท เกรด อินดีด จำกัด บรรยายพิ

นับวันเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ หรือ AI ยิ่ง... ม.มหิดล ร่วมพัฒนาแอปพลิเคชัน "กินยาแล้ว" เชื่อมโยงนวัตกรรมจัดยาด้วยระบบ AI — นับวันเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ หรือ AI ยิ่งเข้ามามีบทบาทเกี่ยวข้องต่อการดำเนินช...

เครือข่ายพันธมิตรมหาวิทยาลัยเพื่อการวิจัย... RUN พร้อมโชว์ผลงานวิจัยจาก 8 มหาวิทยาลัยเครือข่ายฯ ในงาน มหกรรมงานวิจัยแห่งชาติ 2563 — เครือข่ายพันธมิตรมหาวิทยาลัยเพื่อการวิจัย (RUN) เชิญชวนนักวิชาการนั...

นางสาวดวงใจ อัศวจินตจิตร์ (กลาง) เลขาธิกา... ภาพข่าว: บีโอไอลงนามร่วม 8 เครือข่ายมหาวิทยาลัย — นางสาวดวงใจ อัศวจินตจิตร์ (กลาง) เลขาธิการคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (บีโอไอ) ลงนามบันทึกข้อตกลงควา...

บีโอไอจับมือเครือข่ายพันธมิตรมหาวิทยาลัยเ... บีโอไอลงนามเอ็มโอยู 8 เครือข่ายมหาวิทยาลัย หนุนขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยด้วยนวัตกรรม — บีโอไอจับมือเครือข่ายพันธมิตรมหาวิทยาลัยเพื่อการวิจัย (Research Univers...