หลากปัญหาที่เข้ามารุมเร้า บริษัท อินเตอร์ ฟาร์อีสท์ เอ็นเนอร์ยี่ คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) หรือ IFEC ในระยะนี้ คงปฏิเสธไม่ได้ที่บริษัทและผู้ถือหุ้น จะต้องได้รับผลกระทบและเผชิญปัญหาอยู่ในขณะนี้
แต่สำหรับ "วิชัย ถาวรวัฒนยงค์" ประธานกรรมการ บริษัท อินเตอร์ ฟาร์อีสท์ เอ็นเนอร์ยี่ คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) กลับไม่ทิ้งบริษัท โดยยังคงเดินหน้ารับผิดชอบด้วยการยึดหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี หรือ CG Code ฉบับใหม่ที่สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) ประกาศออกมา "ผมตั้งเป้าในการปฏิบัติหน้าที่ โดยมุ่งเน้นบทบาทการเป็นผู้นำองค์กร นำพาธุรกิจไปสู่การเจริญเติบโตด้วยการสร้างคุณค่ากิจการอย่างยั่งยืน"
โดยสะท้อนได้จากแผนธุรกิจของไอเฟคในปี วิชัย ถาวรวัฒนยงค์56สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ "วิชัย" ย้ำว่า ยังคงเดินหน้าในการมุ่งเน้นสร้างรายได้ในธุรกิจหลัก คือ ธุรกิจพลังงาน ประกอบด้วย พลังงานโซลาร์ฟาร์ม พลังงานลม และพลังงานขยะ ซึ่งธุรกิจทั้ง 3 ส่วนนี้ ไอเฟคมีความเชื่อมั่นว่าจะสามารถสร้างรายได้ให้บริษัทอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ไอเฟคยังสามารถต่อยอดธุรกิจได้อีกมาก โดยเฉพาะโครงการโซลาร์ฟาร์มสหกรณ์ ซึ่งบริษัทสามารถเข้าร่วมประมูลได้ และไอเฟคก็มีความพร้อมที่จะเข้าร่วมประมูล
"นอกจากนี้ ไอเฟคยังให้ความสนใจโครงการบริหารจัดการระบบไฟฟ้าให้มีประสิทธิภาพหรือสมาร์ทกริด (Smart Grid) และยังเห็นโอกาสในการดำเนินธุรกิจ การจัดระบบแบบสมาร์ทซิตี้ (Smart City) ซึ่งในส่วนธุรกิจนี้ ประกอบด้วย การระบบจัดการไฟฟ้า ระบบประปา และระบบสื่อสาร โดยเป็นการวางกรอบธุรกิจเพื่อขยายสู่ตลาดซีแอลเอ็มวี หรือเศรษฐกิจในลุ่มแม่น้ำโขง" วิชัยมั่นใจว่า แผนดำเนินธุรกิจยังคงเดินหน้า และสามารถทำได้ตามเป้าหมาย จะเป็นช่องทางในการสร้างรายได้ให้บริษัท
ขณะที่ธุรกิจในของโรงแรมดาราเทวี วิชัยยังบอกด้วยว่า หากมีการบริหารจัดการที่ดี ธุรกิจโรงแรมดาราเทวี ก็สามารถสร้างรายได้ให้แก่ไอเฟคอีกด้านหนึ่งเช่นกัน แต่ก็ยอมรับว่า การเข้าลงทุนในโรงแรมดังกล่าวใช้เงินลงทุนราว 4,สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ล้านบาท และมีภาระดอกเบี้ยราว การกำกับดูแลกิจการที่ดี75 ล้านบาท ขณะที่อิบิด้าอยู่ที่ การกำกับดูแลกิจการที่ดีการกำกับดูแลกิจการที่ดีสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ซึ่งติดลบอยู่ ดังนั้นก็มีแผนที่จะทยอยแบ่งขายบางส่วนที่เราไม่มีความถนัดในการทำธุรกิจเพื่อนำมาชำระหนี้
นอกจากนี้ ในส่วนของธุรกิจการรับงานก่อสร้างในนามของบริษัทไอคอน วิชัยก็เร่งเดินหน้าเจรจากับพันธมิตรในการรับงานให้กับไอคอน รุกหารายได้ให้ไอเฟคอีกทางหนึ่ง ไม่ใช่แค่เพียงการเร่งหารายได้ให้กับไอฟคเพื่อนำไปชำระหนี้ให้กับเจ้าหน้าที่เท่านั้น
"วิชัย" ในฐานะประธานกรรมการไอเฟคที่ยึดหลักการกำกับดูแลกิจการที่ดี เขายังมุ่งมั่นในการเร่งสางหนี้ โดยบริษัทเตรียมตั้งบริษัท เพลินจิต แคปปิตอล จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทมืออาชีพ เข้ามาบริหารจัดการแก้ไขปัญหาหนี้ให้มีประสิทธิภาพ เพื่อให้เจ้าหนี้เกิดความเชื่อมั่น
นอกจากนี้ ยังได้นายฉัตรณรงค์ ฉัตรภูติ ซึ่งปัจจุบันเป็นหนึ่งในกรรมการของไอเฟค เข้ามาร่วมในการบริหารหนี้ เนื่องจากนายฉัตรณรงค์ เคยเป็นนายแบงก์ และเป็นผู้เชี่ยวชาญในบริหารหนี้ของ 56 ไฟแนนซ์ ช่วงวิกฤติสถาบันการเงิน ปีวิชัย ถาวรวัฒนยงค์54สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
ทั้งนี้ นายฉัตรณรงค์ จึงได้รับความไว้วางใจจากบริษัท นอกจากเป็นกรรมการบริษัทแล้วยังมอบหมายให้นายฉัตรณรงค์ เป็นประธานคณะทำงานบริหารหนี้ด้วย อีกทั้งเตรียมเชิญเจ้าหนี้มาปรึกษาหารือในเร็ว ๆ นี้ โดยมีเป้าหมาย เพื่อต้องการให้เกิดแผนบริหารจัดการหนี้ชัดเจนมากยิ่งขึ้น
"ผมไม่ได้นิ่งนอนใจในการแก้ไขปัญหาไอเฟค ผมมั่นใจว่า ไอเฟค เป็นบริษัทที่มีสินทรัพย์มากกว่าหนี้สิน ดังนั้นถ้ามีการบริหารจัดการที่ดี ผมเชื่อมั่นว่า ไอเฟคสามารถก้าวข้ามปัญหา และผ่านพ้นเหตุการณ์ครั้งนี้ไปได้"
ขณะเดียวกัน วิชัย ยังคงเน้นย้ำในหลักการเดิม คือ เขาพร้อมที่จะให้ ผู้ถือหุ้นใหม่ นายทวิช เตชะนาวากุล เข้ามาร่วมแก้ไขปัญหา ซึ่งเขาเชื่อมั่นว่า เขาและทวิช มีจุดยืนและเป้าหมายเดียวกัน คือ การเร่งสร้างรายได้ และการเร่งแก้ไข หรือสางหนี้ให้ไอเฟค เพื่อต้องการเร่งปลดเครื่องหมายเอสพีหุ้นไอเฟคเช่นกัน เพื่อผลประโยชน์ไอเฟคและผู้ถือหุ้น
"ดังนั้นผมต้องการให้คุณทวิช และกรรมการกลุ่มทวิช เข้ามาร่วมแก้ไขปัญหาหนี้ร่วมกัน เพื่อหาทางออกร่วมกัน ถ้าหากมุมมองผมคุณทวิชไม่เห็นด้วย ก็ให้มาเสนอทางออกร่วมกัน"
ดังนั้นสะท้อนให้เห็นว่า วิชัย ไม่เคยคิดปิดกั้น พร้อมตอบโจทย์ CG Code หลักปฏิบัติสำหรับคณะกรรมการบริษัท โดยมุ่งหวังให้กิจการมีผลประกอบการที่ดี โดยคำนึงถึงความต่อเนื่องในระยะยาว เพื่อมีความรับผิดชอบต่อผู้ถือหุ้น ผู้ที่เกี่ยวข้อง และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย โดยมีเป้าหมายเพื่อสร้างคุณค่าให้กิจการอย่างยั่งยืน และดำเนินการให้บรรลุเป้าหมาย
ก.ล.ต. จัดงานสัมมนา "Governance for Sustainability Instilling Governance for Sustainable Value Creation" เน้นย้ำความสำคัญการกำกับดูแลกิจการที่ดีในการขับเคลื่อนธุรกิจที่ยั่งยืน สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.) จัดงานสัมมนา "Governance for Sustainability Instilling Governance for Sustainable Value Creation" เพื่อให้ภาคธุรกิจเล็งเห็นถึงความสำคัญของการกำกับดูแลกิจการที่ดี อันเป็นรากฐานสำคัญของการดำเนินธุรกิจ สามารถรับมือกับการเปลี่ยนแปลงตลอดจนความท้าทาย และสร้างคุณค่า
GIFT คว้าคะแนน CGR 4 ดาว ระดับ 'ดีมาก' พ่วง AGM เต็ม 100 คะแนน
—
บริษัท กิฟท์ อินฟินิท จำกัด (มหาชน) หรือ GIFT ได้รับผลการประเมินการกำกับดูแลกิจการบริษัทจ...
BRR ปลื้มคว้าคะแนน CGR "ดีเลิศ" ระดับ 5 ดาว ต่อเนื่องปีที่ 7 ตอกย้ำมาตรฐานธุรกิจโปร่งใสยั่งยืน
—
บริษัท น้ำตาลบุรีรัมย์ จำกัด (มหาชน) หรือ BRR โชว์ศักยภาพ...
COM7 คว้ารางวัล CGR 2024 ระดับ 5 ดาว "ดีเลิศ" ต่อเนื่อง 4 ปีซ้อน ตอกย้ำการบริหารงานตามหลัก ESG และการกำกับดูแลกิจการที่ดี
—
บริษัท คอมเซเว่น จำกัด (มหาชน)...
"MOSHI" คว้า CGR ในเกณฑ์ "ดีเลิศ" ระดับ 5 ดาว สะท้อนการกำกับดูแลกิจการที่ดี โปร่งใส สู่การเติบโตอย่างยั่งยืน
—
บริษัท โมชิ โมชิ รีเทล คอร์ปอเรชั่น จำกัด (...
GGC คว้าคะแนน CGR 5 ดาว หรือ "ดีเลิศ" 6 ปีซ้อน สะท้อนถึงการพัฒนา ยกระดับมาตรฐานการกำกับดูแลกิจการที่ดี
—
บริษัท โกลบอลกรีนเคมิคอล จำกัด (มหาชน) "GGC" โดย ...
MTC สุดปลื้ม! คว้า CG 5 ดาว 6 ปีซ้อน
—
บมจ. เมืองไทย แคปปิตอล (MTC) ได้รับผลประเมินการกำกับดูแลกิจการบริษัทจดทะเบียนไทย ประจำปี 2566 ในระดับดีเลิศ ...
BRR ปลื้มคว้าคะแนนการกำกับดูแลกิจการ (CGR) "ดีเลิศ" ระดับ 5 ดาว ต่อเนื่องปีที่ 6
—
บริษัท น้ำตาลบุรีรัมย์ จำกัด (มหาชน) หรือ BRR โชว์ศักยภาพความเป็นเลิศด้...