วิทยาศาสตร์ฯ มธ. เดินหน้าป้อนนักวิทย์คุณภาพรับไทยแลนด์ 4.0 รุกโชว์ 300 นวัตกรรม “วิทยาศาสตร์-เทคโนโลยี” สุดล้ำ ฝีมือเด็กไทย

          คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (มธ.) ตั้งเป้าเดินหน้าผลิตแรงงานด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ป้อนยุทธศาสตร์ชาติ "ไทยแลนด์ 4.คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี" โชว์ศักยภาพนักศึกษาวิทย์ไทย ชั้นปีที่ 4 จัดงาน"Senior Project #3" งานจัดแสดงนวัตกรรมวิจัยและสิ่งประดิษฐ์ฝีมือเยาวชน ครั้งที่ 3 ภายใต้แนวคิด SCI+BUSINESS รวบรวมผลงานนวัตกรรมงานวิจัยและสิ่งประดิษฐ์ของนักศึกษาชั้นปีที่ 4 คณะวิทยาศาสตร์ฯ มธ. และนักเรียนจากโครงการสนับสนุนการจัดตั้งห้องเรียนวิทยาศาสตร์ในโรงเรียน โดยการกำกับดูแลของมหาวิทยาลัย (โครงการ วมว.) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กว่า 3คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผลงาน อาทิ Kidney Pro-Tech – แอปฯ ผู้ช่วยหมอ ตามติดพฤติกรรมเสี่ยงผู้ป่วยโรคไต เพื่อเป็นข้อมูลให้แพทย์ผู้รักษาสามารถทำการวินิจฉัยได้อย่างเหมาะสมเพื่อลดภาวะวิกฤติ Weather and CO sensor device – โดรนเตือนภัย รับหมอกควัน-ไฟป่า" นวัตกรรมเฝ้าระวังและป้องกันภัยเหตุเพลิงไหม้ ไฟป่า และหมอกควันที่อาจเกิดขึ้น เพื่อเตรียมพร้อมหน่วยงานที่เกี่ยวข้องรับมือสถานการณ์ และ Kids Tracker Autism – แอปฯ ติดตามพฤติกรรมเด็กออทิสติก นวัตกรรมติดตามพฤติกรรมเด็กออทิสติก เพื่อวางแผนสร้างพัฒนาการและลดพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม เพื่อให้เด็กมีพฤติกรรมที่ใกล้เคียงกับเด็กปกติมากที่สุด
          ทั้งนี้ กิจกรรมดังกล่าวจัดขึ้นเมื่อเร็วๆ นี้ ณ อาคารบรรยายรวม 5 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มธ. ศูนย์รังสิต โดยมีคณาจารย์ นักศึกษา ตลอดจนหน่วยงานพันธมิตรร่วมงานจำนวนมาก สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มธ. หมายเลขโทรศัพท์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีห้องเรียนวิทยาศาสตร์-564-444คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ถึง 59 ต่อ ห้องเรียนวิทยาศาสตร์คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีห้องเรียนวิทยาศาสตร์คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฝ่ายวิชาการ) หรือ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีห้องเรียนวิทยาศาสตร์-564-444คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ถึง 59 ต่อ ห้องเรียนวิทยาศาสตร์คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฝ่ายประชาสัมพันธ์) เว็บไซต์ www.sci.tu.ac.th
          รศ. ปกรณ์ เสริมสุข คณบดีคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มธ. เปิดเผยว่า คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มธ. จัดงาน "Senior Project #3" งานจัดแสดงนวัตกรรมวิจัยและสิ่งประดิษฐ์ฝีมือเยาวชน ครั้งที่ 3 ภายใต้แนวคิด SCI+BUSINESS เพื่อเป็นการแสดงศักยภาพนักศึกษาชั้นปีที่ 4 คณะวิทยาศาสตร์ฯ มธ. และนักเรียนจากโครงการสนับสนุนการจัดตั้งห้องเรียนวิทยาศาสตร์ในโรงเรียน ที่สามารถบูรณาการองค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์-เทคโนโลยี สู่ต้นแบบนวัตกรรมสมัยใหม่ที่สามารถใช้ประโยชน์ได้จริง อีกทั้งยังสามารถต่อยอดได้ในเชิงพาณิชย์ เป็นจำนวนกว่า 3คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ต้นแบบนวัตกรรม ซึ่งถูกแบ่งออกเป็น 6 ด้าน คือ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ด้านสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืน (Environment and Sustainability) ห้องเรียนวิทยาศาสตร์. ด้านวิทยาศาสตร์กายภาพ (Physical Science) 3. ด้านวิทยาศาสตร์ชีวภาพ (Life Science) 4. ด้านดิจิทัลและระบบการวิเคราะห์ข้อมูล (Digital and Data Analysis) 5. ด้านทฤษฎี (Theory) และ 6. ด้านเทคโนโลยี (Technology)
          รศ. ปกรณ์ กล่าวต่อว่า ผลงานนวัตกรรมงานวิจัยและสิ่งประดิษฐ์ทั้งหมดนั้น เป็นฝีมือของเยาวชน นักศึกษาชั้นปีที่ 4 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มธ. และนักเรียนในโครงการสนับสนุนการจัดตั้งห้องเรียนวิทยาศาสตร์ในโรงเรียน โดยการกำกับดูแลของมหาวิทยาลัย (โครงการ วมว.) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยมีอาจารย์ผู้เชี่ยวชาญเป็นที่ปรึกษา ให้คำแนะนำ โดยตัวอย่างของผลงานวิจัยที่ถูกจัดแสดงภายในงาน ได้แก่
          &#มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์83; Kidney Pro-Tech – แอปฯ ผู้ช่วยหมอ ตามติดพฤติกรรมเสี่ยงผู้ป่วยโรคไต ผลงานของนางสาวนรินทร์รัก นามานุภาพ และนายพิชญ์ชาธร บำรุงศรี นักศึกษาชั้นปี 4 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ เนื่องจากปัจจุบันพบผู้ที่ป่วยเป็นโรคไตเกือบ 8 ล้านคนต่อปี และจำนวนกว่า ห้องเรียนวิทยาศาสตร์ แสนคนป่วยเป็นโรคไตวาย โดยผู้ป่วยจำเป็นต้องได้รับการปลูกถ่ายไต ซึ่งปัจจุบันสามารถปลูกถ่ายได้สำเร็จประมาณ 5 หมื่นคนต่อปี ดังนั้น เพื่อเป็นการลดภาวะวิกฤติจากพฤติกรรมเสี่ยงของผู้ป่วย ทางทีมจึงได้พัฒนา แอปฯ Kidney Pro-Tech ขึ้น เพื่อเป็นข้อมูลให้ทีมแพทย์ผู้รักษา จำนวน 4 ท่าน ประกอบด้วยแพทย์ พยาบาล นักโภชนาการ และเภสัชกร สามารถทำการวินิจฉัย พร้อมทั้งวางแผนปรับชนิดยา ปรับพฤติกรรมการทานอาหาร รวมถึงปริมาณสารอาหารที่ควรได้รับได้อย่างเหมาะสม เพื่อลดภาวะวิกฤติของผู้ป่วย ผ่านการบันทึกข้อมูลสุขภาพและพฤติกรรมประจำวัน อันได้แก่ น้ำหนักอัตราการเต้นของหัวใจ ความดันโลหิต ปริมาณน้ำในร่างกาย สารอาหารที่ได้รับ (จากการบันทึกเมนูอาหาร) ฯลฯ โดยระบบจะทำการประมวณผล พร้อมแจ้งเตือนทันทีหากพบพฤติกรรมเสี่ยง อาทิ การรับประทานอาหารที่มีส่วนผสมของโพแทสเซียมสูงถึง 4,คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มิลลิกรัมต่อวัน หรือมีโซเดียมสูงเกิน ห้องเรียนวิทยาศาสตร์,4คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มิลลิกรัมต่อวัน ฯลฯ นอกจากนี้ ยังทำหน้าที่แจ้งเตือนผู้ป่วย หากหลงลืมการทานยาในแต่ละมื้อ ทั้งนี้ เตรียมนำร่องทดสอบกับผู้ป่วยโรคไตที่โรงพยาบาลและสาธารณสุข 
          &#มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์83; Weather and CO sensor device – โดรนเตือนภัย รับหมอกควัน-ไฟป่า ผลงานของนายวิศรุต โรจนประศาสน์ นางสาวอสมาภรณ์ กมลรัตน์ และนางสาวธมนวรรณ เงาศรี นักเรียนจากโครงการ วมว. มธ.-สกร.นวัตกรรมโดรนเตือนภัย ถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อเฝ้าระวังและป้องกันภัยเหตุเพลิงไหม้ ไฟป่า และหมอกควันที่อาจเกิดขึ้น บริเวณพื้นที่ภาคเหนือและภาคใต้ที่มีโอกาสเกิดขึ้นบ่อยครั้ง เพื่อเป็นข้อมูลในการวิเคราะห์สิ่งแวดล้อม และเอื้อประโยชน์แก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการวางแผนรับมือกับสถานการณ์ได้อย่างรวดเร็ว ซึ่งภายในชุดอุปกรณ์ จะมีเซนเซอร์ที่ทำหน้าที่สังเกตการณ์ และตรวจวัดปริมาณก๊าซคาร์บอนมอนอกไซต์ (CO) ที่ฝุ้งกระจายอยู่บนอากาศ จากนั้นระบบจะนำข้อมูลที่ได้ไปประมวลผล และแสดงข้อมูลผ่านแอปฯ NETPIE เพื่อบ่งชี้ว่าพบความเข้มข้นของก๊าซอยู่ในระดับใด อีกทั้งยังมีหลอดไฟแอลอีดี (LED) ทำหน้าที่ติดตามสภาพอากาศ โดยสีของหลอดไฟ จะเปลี่ยนตามเกณฑ์ความร้อนในช่วงอุณหภูมิต่างๆ ยกตัวอย่างเช่น หากอยู่ในช่วงอุณหภูมิที่มากกว่า 4คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี องศา จะเป็นหลอดไฟสีแดง ฯลฯ อย่างไรก็ตาม นวัตกรรมดังกล่าวอยู่ในขั้นตอนการพัฒนาระบบให้สามารถระบุความเข้มข้นของก๊าซมลพิษที่พบให้เสถียรยิ่งขึ้น ในหน่วยของ ppm (part per million)
          &#มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์83; Kids Tracker Autism – แอปฯ ติดตามพฤติกรรมเด็กออทิสติก ผลงานของนางสาวน้ำเพชร สุขเรือนสุวรรณ และ นายเจตน์ เมืองโครต นักศึกษาชั้นปีที่ 4 สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ เนื่องด้วยปัจจุบัน ปัญหาความผิดปกติทางสมองของเด็กออทิสติก ในทางการแพทย์นั้น ยังไม่มีงานวิจัยใดที่สามารถรักษาความผิดปกติดังกล่าวให้หายขาดได้ โดยทำได้เพียงสร้างพัฒนาการและลดพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมเพื่อให้ใกล้เคียงกับเด็กปกติมากที่สุด จึงก่อให้เกิดไอเดียในการพัฒนา แอปฯ Kids Tracker Autism เพื่อติดตามพฤติกรรมเด็กออทิสติก ที่ปัจจุบันแอปฯ ในลักษณะดังกล่าว ยังมีจำนวนน้อยและโดยส่วนใหญ่เป็นภาษาอังกฤษ ซึ่งเป็นข้อจำกัดในการใช้งานสำหรับคนไทย โดยแอปฯ ดังกล่าว จะเป็นการทำงานร่วมกันระหว่างผู้ใช้งานใน 3 ส่วนคือ ผู้ปกครอง คุณครู และแพทย์ผู้รักษา โดยผู้ปกครองและคุณครู จะเป็นผู้ทำหน้าที่บันทึกพฤติกรรมประจำวันของเด็กที่อยู่ในการดูแล ขณะอยู่ที่บ้านและที่โรงเรียน ลงในแอปฯ เป็นจำนวนตัวเลขสถิติ อาทิ ทำร้ายตัวเอง 3 ครั้ง ร้องไห้ ห้องเรียนวิทยาศาสตร์ ครั้ง ทำลายทรัพย์สิน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ครั้ง ฯลฯ เพื่อเป็นข้อมูลให้แพทย์ผู้รักษาทำการวิเคราะห์และวินัจฉัย เพื่อกำหนดแนวทางการพัฒนาพฤติกรรมและทักษะเด็กในด้านต่างๆ เป็นลำดับต่อไป อย่างไรก็ดี นวัตกรรมดังกล่าวเตรียมพัฒนาระบบให้สามารถเลือกติดตามเด็กได้ไม่จำกัด และสามารถสรุปผลแบบอัตโนมัติได้ในรูปแบบไฟล์Excel เพื่อให้สามารถนำส่งข้อมูลไปใช้ในรูปแบบอื่นๆ ได้ง่ายยิ่งขึ้น
          อย่างไรก็ดี คณะวิทยาศาสตร์ฯ มธ. ยังคงมุ่งมั่นพัฒนาบัณฑิตที่มีความรู้ทาง "วิทยาศาสตร์" และสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ทั้งด้านวิทย์และบริหาร ตามยุทธศาสตร์ SCI + BUSINESS เพื่อพัฒนาและต่อยอดธุรกิจ สร้างมูลค่าเพิ่มด้วยนวัตกรรมการบริการ รวมถึงสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ใหม่ได้ในหลากรูปแบบ โดยกิจกรรม "Senior Project #3" ดังกล่าว ถือเป็นงานที่แสดงศักยภาพของเยาวชน นักศึกษา ที่สามารถพัฒนางานวิจัยและสิ่งประดิษฐ์ มีศักยภาพพร้อมต่อการพัฒนาธุรกิจ ซึ่งเยาวชนและนักศึกษาดังกล่าว ถือเป็นกำลังสำคัญหนึ่งในการอัพสปีดเศรษฐกิจไทย รับนโยบาย "ไทยแลนด์ 4.คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี" รศ. ปกรณ์ กล่าวทิ้งท้าย
          ทั้งนี้ งาน "Senior Project #3" ดังกล่าว จัดขึ้นเมื่อเร็วๆ นี้ ณ อาคารบรรยายรวม 5 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มธ. ศูนย์รังสิต โดยมีคณาจารย์ นักศึกษา ตลอดจนหน่วยงานพันธมิตรร่วมงานจำนวนมาก สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มธ. หมายเลขโทรศัพท์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีห้องเรียนวิทยาศาสตร์-564-444คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ถึง 59 ต่อ ห้องเรียนวิทยาศาสตร์คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีห้องเรียนวิทยาศาสตร์คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฝ่ายวิชาการ) หรือ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีห้องเรียนวิทยาศาสตร์-564-444คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ถึง 59 ต่อ ห้องเรียนวิทยาศาสตร์คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฝ่ายประชาสัมพันธ์) เว็บไซต์ www.sci.tu.ac.th
วิทยาศาสตร์ฯ มธ. เดินหน้าป้อนนักวิทย์คุณภาพรับไทยแลนด์ 4.0 รุกโชว์ 300 นวัตกรรม “วิทยาศาสตร์-เทคโนโลยี” สุดล้ำ ฝีมือเด็กไทย
 
วิทยาศาสตร์ฯ มธ. เดินหน้าป้อนนักวิทย์คุณภาพรับไทยแลนด์ 4.0 รุกโชว์ 300 นวัตกรรม “วิทยาศาสตร์-เทคโนโลยี” สุดล้ำ ฝีมือเด็กไทย
วิทยาศาสตร์ฯ มธ. เดินหน้าป้อนนักวิทย์คุณภาพรับไทยแลนด์ 4.0 รุกโชว์ 300 นวัตกรรม “วิทยาศาสตร์-เทคโนโลยี” สุดล้ำ ฝีมือเด็กไทย
วิทยาศาสตร์ฯ มธ. เดินหน้าป้อนนักวิทย์คุณภาพรับไทยแลนด์ 4.0 รุกโชว์ 300 นวัตกรรม “วิทยาศาสตร์-เทคโนโลยี” สุดล้ำ ฝีมือเด็กไทย

ข่าวคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี+วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีวันนี้

มทร.กรุงเทพ จับมือ เกียร์เฮด ผลิตบัณฑิตคุณภาพป้อนอุตสาหกรรมภาพยนตร์ไทย

รศ.ดร.พิชัย จันทร์มณี อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล (มทร.)กรุงเทพ กล่าวว่า มทร.กรุงเทพ มุ่งมั่นผลิตบัณฑิตที่มีทักษะการปฏิบัติและความคิดสร้างสรรค์ เพื่อรองรับการเติบโตของอุตสาหกรรมบันเทิง โดยความร่วมมือกับบริษัท เกียร์เฮด จำกัด เพื่อช่วยให้นักศึกษาในสาขาวิชาเทคโนโลยีการถ่ายภาพและภาพยนตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและสาขาที่เกี่ยวข้อง ได้เรียนรู้เทคโนโลยีและกระบวนการผลิตภาพยนตร์อย่างครบวงจร ซึ่งจะส่งผลดีต่อคุณภาพบัณฑิตของมหาวิทยาลัย ด้าน ผศ.ดร.ครรชิต กำลังกล้า คณบดีคณะวิทยาศาสตร์และเทคโน

รศ.ดร.พิชัย จันทร์มณี อธิการบดีมหาวิทยาลั... มทร.กรุงเทพ เปิด 3,280 ที่นั่งรับนักศึกษาปริญญาตรี ปี 68 — รศ.ดร.พิชัย จันทร์มณี อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล(มทร.)กรุงเทพ เปิดเผยว่า ขณะนี้ มทร.ก...

รศ.ดร.สมหมาย ผิวสอาด รักษาการในตำแหน่งอธิ... มทร.ธัญบุรี ลงนามภาคเอกชนพัฒนาศักยภาพนวัตกรรมดิจิทัล — รศ.ดร.สมหมาย ผิวสอาด รักษาการในตำแหน่งอธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี (มทร.ธัญบุรี) ลงน...

ดร.มานะชัย? โต๊ะชูดี รองคณบดีฝ่ายวิชาการ ... พิธีมอบเสื้อกาวน์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีการศึกษา 256 — ดร.มานะชัย? โต๊ะชูดี รองคณบดีฝ่ายวิชาการ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และคุณกรด โรจนเสถีย...

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหอก... คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ม.หอการค้าไทย จัดพิธีประดับเข็มหลักสูตรสหวิทยาการ (ผู้ช่วยฟื้นฟู) — คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย จัดกิจกรร...

สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประ... วว.ลงพื้นที่จังหวัดเพชรบูรณ์ อบรมเชิงปฏิบัติการ "การผลิตภาชนะรักษ์โลกจากเยื่อกล้วย" — สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) ร่วมกับ คณะวิท...

อาจารย์คณะเทคโนโลยีการเกษตร-คณะวิทยาศาสตร... มรภ.สงขลา เยือน "ม. UPNVJT" อินโดนีเซีย ร่วมสัมมนาด้านเทคโนโลยีอาหาร — อาจารย์คณะเทคโนโลยีการเกษตร-คณะวิทยาศาสตร์ฯ มรภ.สงขลา เยือน Universitas Pembangunan...