DEPA ควงจุฬาฯ เฮ สร้างผลงานก้าวกระโดดในเวทีเซียนซอฟต์แวร์ระดับโลก

          รายงานจากรัฐเซาท์ดาโคตา สหรัฐอเมริกา สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล หรือ DEPA ควงทีมจากวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ทำผลงานดีในเวทีการแข่งขันเขียนโปรแกรมระดับโลกสุดเก่าแก่ "ACM-ICPC World Finals 2สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย7" ซึ่งทีมจากจุฬาฯ ฝ่าฟันแข่งขันในระดับประเทศ ระดับภูมิภาค สามารถชิงตั๋วเข้าแข่งขันในรอบ World Finals ได้ บินไปสร้างผลงานประทับใจ คว้าอันดับที่ 34 จากทีมที่เข้าแข่งขันทั้งหมด จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย33 ทีมทั่วโลก
          การแข่งขัน ACM International Collegiate Programming Contest (ACM - ICPC) เป็นการแข่งขันการเขียนโปรแกรมสำหรับอุดมศึกษาในระดับนานาชาติที่มีชื่อเสียงที่สุด และเก่าแก่ที่สุดของโลก แบ่งการแข่งขันออกเป็น 3 ระดับ คือ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. Local Contest หรือการแข่งขันระดับประเทศ 2. Regional Contest หรือระดับภูมิภาค ซึ่งผู้ที่ผ่านการแข่งขันในระดับนี้ก็จะได้เป็นตัวแทนไปแข่งในระดับที่ 3 คือ ระดับโลก หรือ World Finals ซึ่งทีม CPCU Debuggers จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สามารถฝ่าฟันจากระดับประเทศ จนสามารถเป็นทีมเดียวในนามประเทศไทยเข้าสู่รอบ World Finals ซึ่งจัดแข่งขันขึ้นระหว่างวันที่ 2จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย – 25 พฤษภาคม 256สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล ณ เมืองแรพิด ซิตี้ รัฐเซาท์ดาโคตา สหรัฐอเมริกา
          นายฉัตรชัย คุณปิติลักษณ์ รองผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล กล่าวว่า DEPA สนับสนุนและส่งเสริมให้นักศึกษามหาวิทยาลัยไทยเข้าร่วมแข่งขันอย่างต่อเนื่องมานานกว่า 7 ปี ครั้งนี้เป็นครั้งที่ 2 ที่ทีมมหาวิทยาลัยไทยได้สิทธิ์เข้ารอบ World Finals ต้องขอแสดงความยินดีและชื่นชมกับทีมนิสิตจุฬาฯ ที่สามารถแก้โจทย์ได้ถูกต้องรวดเร็ว จำนวน 5 ข้อ ทำคะแนนได้เป็นอันดับที่ 34 จากทั้งหมด จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย33 ทีม ความสำเร็จของทีมในการแข่งขันครั้งนี้ ถือเป็นการสร้างผลงานในเวที ACM-ICPC แบบก้าวกระโดด ซึ่งเป็นผลมาจากการเตรียมตัวของนิสิต และทีมโค้ช ซึ่งก็คืออาจารย์ของทางอาจารย์ประจำคณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ DEPA เองก็สนับสนุนการเตรียมความพร้อมเยาวชนที่เป็นตัวแทนทั้งหลายด้วยการจัดโครงการ Boost Up camp เพื่อฝึกฝนและเพิ่มความชำนาญก่อนแข่งขัน การเข้าแข่งขัน ACM-ICPC World Finals 2สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย7 นี้ นอกจากเยาวชนจะได้ประสบการณ์ที่ท้าทายแล้ว ยังเป็นโอกาสที่ดีทางการศึกษาและอาชีพในอนาคตด้วย เพราะปัจจุบันผู้ที่เข้าแข่งขันในรายการนี้ เป็นบุคลากรที่เป็นที่ต้องการอย่างสูงในอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์ ทั้งในประเทศ บริษัทในซิลิคอน วัลเลย์ ที่ซิลิคอน วัลเลย์ ประเทศสหรัฐอเมริกา และทั่วโลก DEPA ขอแสดงความยินดีกับทีม CPCU Debuggers จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ที่สามารถสร้างผลงานในเวทีระดับโลกครั้งนี้ได้อย่างน่าประทับใจ
          สำหรับการแข่งขัน ACM-ICPC World Finals 2สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย7 ทีมที่สามารถแก้โจทย์ได้อย่างรวดเร็วและถูกต้อง คว้าตำแหน่งอันดับที่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-3 ได้แก่ มหาวิทยาลัย St. Petersburg ITMO มหาวิทยาลัย University of Warsaw และ มหาวิทยาลัย Seoul National University ตามลำดับ
DEPA ควงจุฬาฯ เฮ สร้างผลงานก้าวกระโดดในเวทีเซียนซอฟต์แวร์ระดับโลก
DEPA ควงจุฬาฯ เฮ สร้างผลงานก้าวกระโดดในเวทีเซียนซอฟต์แวร์ระดับโลก
 

ข่าวสำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล+ส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัลวันนี้

ผอ.ใหญ่ ดีป้า แนะไทยเดินหน้าหาตลาดใหม่ เตรียมการรับมือมาตรการภาษีทรัมป์

ผู้อำนวยการใหญ่ ดีป้า ชี้มาตรการภาษีทรัมป์เป็นการโยนหินถามทางเพื่อสังเกตท่าทีของคู่ค้าสหรัฐฯ แต่ยอมรับว่าอาจส่งผลกระทบต่อ GDP ไทย คาดมาตรการดังกล่าวจะยังไม่ส่งผลทันที แนะไทยเร่งหาตลาดใหม่ทดแทน และสร้างช่องทางการส่งออกให้กับผู้ประกอบการขนาดกลาง ขนาดย่อม และรายย่อย เพื่อสร้างรายได้จากการส่งออกและโอกาสทางธุรกิจ อีกทั้งเป็นการกระจายเม็ดเงินสู่ระดับฐานราก ผศ.ดร.ณัฐพล นิมมานพัชรินทร์ ผู้อำนวยการใหญ่ สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล หรือ ดีป้า เปิดเผยว่า การที่ นายโดนัลด์ ทรัมป์ ประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา

สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล (depa) โด... DigitalCEO8 เรียนรู้ผ่านองค์กรชั้นนำระดับโลก PwC Thailand — สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล (depa) โดย ดร.จักกนิตต์ คณานุรักษ์ ผู้อำนวยการฝ่ายส่งเสริมการพ...