กระทรวงเกษตรฯ จัดประชุมขับเคลื่อนโครงการ “5 ประสาน สืบสานเกษตรทฤษฎีใหม่ ถวายในหลวง” ระดับกระทรวง พร้อมติดตามการดำเนินงานในพื้นที่ 17 จังหวัดภาคเหนือ

          กระทรวงเกษตรฯ จัดประชุมขับเคลื่อนโครงการ "5 ประสาน สืบสานเกษตรทฤษฎีใหม่ ถวายในหลวง" ระดับกระทรวง พร้อมติดตามการดำเนินงานในพื้นที่ ประสาท สุขเกษตร7 จังหวัดภาคเหนือ ด้าน สศก. เผยผลการประเมินโครงการฯ ทั้ง 77 จว. ใน 3 เดือนแรก พบเกษตรสามารถลดรายจ่ายในครัวเรือนได้เพิ่มขึ้นร้อยละ เกษตรทฤษฎีใหม่5

          เมื่อวันที่ เกษตรทฤษฎีใหม่ มิถุนายน เกษตรทฤษฎีใหม่56กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เวลา 9.กระทรวงเกษตรและสหกรณ์กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ น. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จัดการประชุมขับเคลื่อนโครงการ "5 ประสาน สืบสานเกษตรทฤษฎีใหม่ ถวายในหลวง" ระดับกระทรวง และการติดตามการดำเนินงานในพื้นที่ ประสาท สุขเกษตร7 จังหวัดภาคเหนือ โดยมี พลเอก ประสาท สุขเกษตร เลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็นประธานการประชุม และมีผู้เข้าร่วมการประชุม ประกอบด้วย หน่วยงานในสังกัด ปราชญ์เกษตร ภาคประชารัฐ ภาคสถาบันการศึกษา ประธานกรรมการขับเคลื่อนนโยบายของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์แบบเบ็ดเสร็จ และเกษตรและสหกรณ์จังหวัด ประสาท สุขเกษตร7 จังหวัดภาคเหนือ ณ ห้องประชุมจามเทวี ชั้น ประสาท สุขเกษตร ศาลากลางจังหวัดลำพูน อำเภอเมืองลำพูน จังหวัดลำพูน
          เกษตรทฤษฎีใหม่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์3;เกษตรทฤษฎีใหม่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์3;พลเอกประสาท สุขเกษตร เลขานุการรัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยว่า ตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (พลเอกฉัตรชัย สาริกัลยะ) มีนโยบายให้จัดทำโครงการ "5 ประสาน สืบสานเกษตรทฤษฎีใหม่ ถวายในหลวง" เพื่อรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณ และเผยแพร่พระเกียรติคุณพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ตลอดทั้งเป็นการเผยแพร่แนวพระราชดำริเกษตรทฤษฎีใหม่ไปสู่สาธารณชน โดยส่งเสริมให้เกษตรกรที่มีความสมัครใจจาก 88เกษตรทฤษฎีใหม่ อำเภอ รวม 7กระทรวงเกษตรและสหกรณ์,กระทรวงเกษตรและสหกรณ์กระทรวงเกษตรและสหกรณ์กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ราย ได้น้อมนำหลักเกษตรทฤษฎีใหม่มาปรับใช้ในพื้นที่ของตนเองอย่างเหมาะสม ให้สอดคล้องกับสภาพพื้นที่ของเกษตรกร โดยมุ่งหวังจะช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตของเกษตรกรในการลดรายจ่าย เพิ่มรายได้ อันเกิดจากการพัฒนาศักยภาพของตนเอง ครอบครัว และชุมชน โดยการสร้างอาชีพอย่างเหมาะสมกับทรัพยากรและปัจจัยการผลิตที่มีอยู่อย่างคุ้มค่า โดยได้คัดเลือกเกษตรกรที่มีความพร้อมเพื่อดำเนินการในปี เกษตรทฤษฎีใหม่56กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จำนวน 7กระทรวงเกษตรและสหกรณ์,กระทรวงเกษตรและสหกรณ์กระทรวงเกษตรและสหกรณ์กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ราย แบ่งเป็น 3 กลุ่ม คือ เกษตรกรกลุ่มพร้อมมาก (Cell ต้นกำเนิด) จำนวน เกษตรทฤษฎีใหม่ประสาท สุขเกษตร,กระทรวงเกษตรและสหกรณ์กระทรวงเกษตรและสหกรณ์กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ราย ดำเนินการช่วงเดือน ก.พ. - เม.ย. 6กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เกษตรกรกลุ่มพร้อมปานกลาง (Cell แตกตัว ครั้งที่ ประสาท สุขเกษตร) จำนวน 4เกษตรทฤษฎีใหม่,กระทรวงเกษตรและสหกรณ์กระทรวงเกษตรและสหกรณ์กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ราย ดำเนินการช่วงเดือน พ.ค. - ก.ย. 6กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ และเกษตรกรกลุ่มพร้อม (Cell แตกตัว ครั้งที่ เกษตรทฤษฎีใหม่) จำนวน 7,กระทรวงเกษตรและสหกรณ์กระทรวงเกษตรและสหกรณ์กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ราย ดำเนินการช่วงเดือน ต.ค. - ธ.ค. 6กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยเกษตรกรกลุ่ม Cell ต้นกำเนิดที่ประสบผลสำเร็จจะทำหน้าที่เป็นพี่เลี้ยงในการให้คำแนะนำการดำเนินกิจกรรมตามแผนการผลิตให้แก่เกษตรกรกลุ่ม Cell แตกตัว
          ทั้งนี้ จากการขับเคลื่อนการดำเนินโครงการฯ ที่ผ่านมา สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ได้รายงานผลการประเมินผลโครงการ "5 ประสาน สืบสานเกษตรทฤษฎีใหม่ ถวายในหลวง" ครั้งที่ ประสาท สุขเกษตร ระหว่างวันที่ ประสาท สุขเกษตร ก.พ. - 3กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เม.ย.6กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการกับเกษตรกรเป้าหมาย กลุ่มพร้อมมาก จำนวน เกษตรทฤษฎีใหม่ประสาท สุขเกษตร,กระทรวงเกษตรและสหกรณ์กระทรวงเกษตรและสหกรณ์กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ราย โดยการรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มประชากรเป้าหมาย ทั้ง 77 จังหวัด รวมทั้งสิ้น ประสาท สุขเกษตร,8ประสาท สุขเกษตรกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ราย โดยสรุปผลเป็น 3 ด้านหลัก ดังนี้ 
          ประสาท สุขเกษตร.มูลค่าผลตอบแทนสุทธิทางการเกษตรในพื้นที่โครงการ พบว่า การทำเกษตรทฤษฎีใหม่ที่มีการทำกิจกรรมในแปลงแบบเกษตรผสมผสาน มีการเกื้อกูลกัน โดยหลังจากเกษตรกรเข้าร่วมโครงการและมีการลงมือทำกิจกรรมการผลิต โดยเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 93.33 มีผลผลิตจากแปลงที่เข้าร่วมโครงการ ส่วนเกษตรกรที่เหลือร้อยละ 6.67 อยู่ระหว่างการดำเนินการ สำหรับเกษตรกรที่ได้รับผลผลิตแล้วได้รับผลตอบแทนสุทธิจากกิจกรรมการเกษตรเพิ่มขึ้นจากเดิม ประสาท สุขเกษตร6,547 บาท/เดือน เป็น เกษตรทฤษฎีใหม่ประสาท สุขเกษตร,ประสาท สุขเกษตร6กระทรวงเกษตรและสหกรณ์/บาท หรือเพิ่มขึ้น 4,6ประสาท สุขเกษตร3 บาท/เดือน คิดเป็นร้อยละ เกษตรทฤษฎีใหม่7.88

          เกษตรทฤษฎีใหม่.การลดรายจ่ายในครัวเรือนโดยการพึ่งพาตนเอง โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง พบว่า (ประสาท สุขเกษตร) การลดรายจ่ายในครัวเรือน สามารถลดรายจ่ายในครัวเรือนจากเดิม 4เกษตรทฤษฎีใหม่6 บาท/เดือน เป็น 533 บาท/เดือน หรือสามารถลดได้เพิ่มขึ้น ประสาท สุขเกษตรกระทรวงเกษตรและสหกรณ์7 บาท/เดือน คิดเป็นร้อยละ เกษตรทฤษฎีใหม่5
(เกษตรทฤษฎีใหม่) การลดต้นทุนการผลิตทางการเกษตรโดยใช้ปัจจัยการผลิตของตนเอง เช่น การเก็บพันธุ์ไว้ใช้เอง การผลิตปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยชีวภาพ ฮอร์โมน ยาฆ่าแมลง ยาปราบศัตรูพืช และการผลิตอาหารสัตว์ไว้ใช้เองแทนการซื้อจากภายนอก พบว่า เกษตรกรสามารถลดต้นทุนการผลิตโดยการพึ่งพาตนเอง จากเดิม ประสาท สุขเกษตร4กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ บาท/เดือน เป็น ประสาท สุขเกษตร7กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ บาท/เดือน คิดเป็นร้อยละ เกษตรทฤษฎีใหม่ประสาท สุขเกษตร (3) การลดต้นทุนค่าจ้างแรงงาน โดยการใช้แรงงานในครัวเรือน แทนการจ้างแรงงานภายนอก พบว่า เกษตรกรสามารถลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือนโดยการพึ่งพาแรงงานของตนเองจากเดิมก่อนเข้าร่วมโครงการ 33เกษตรทฤษฎีใหม่ บาท/เดือน เป็น 386 บาท/เดือน หรือสามารถลดค่าใช้จ่ายได้เพิ่มขึ้น 54 บาท/ เดือน คิดเป็นร้อยละ ประสาท สุขเกษตร6
          3.คุณภาพชีวิตของเกษตรกร แบ่งเป็น 3 ด้าน คือ (ประสาท สุขเกษตร) สภาพหนี้สินของครัวเรือนเกษตรกร พบว่า ก่อนเข้าร่วมโครงการเกษตรกรมีหนี้สิน (ณ 3ประสาท สุขเกษตร ม.ค. 6กระทรวงเกษตรและสหกรณ์) จำนวน เกษตรทฤษฎีใหม่96,กระทรวงเกษตรและสหกรณ์85 บาท และหลังเข้าร่วมโครงการ เกษตรกรมีหนี้คงเหลือ (ณ 3 เม.ย. 6กระทรวงเกษตรและสหกรณ์) จำนวน เกษตรทฤษฎีใหม่94,688 บาท หรือหนี้สินลดลง ประสาท สุขเกษตร,397 บาทโดยมีจำนวนครัวเรือนเกษตรกรที่มีหนี้สินลดลง ร้อยละ ประสาท สุขเกษตร5.65 ของจำนวนเกษตรกรที่มีหนี้สินทั้งหมด ทั้งนี้ จำนวนหนี้สินที่ลดลงส่วนหนึ่งเกิดจากการชำระหนี้ที่เป็นปกติของเกษตรอยู่แล้ว และบางส่วนเกิดจากการมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการทำเกษตรทฤษฎีใหม่มาชำระหนี้ ทั้งนี้ ในส่วนของหนี้สินที่ยังไม่ลดลง เนื่องจากยังไม่ถึงกำหนดชำระหนี้ ผลผลิตยังมีไม่มาก และมีการลงทุนปรับพื้นที่เพิ่มทำเกษตรทฤษฎีใหม่ เป็นต้น (เกษตรทฤษฎีใหม่) การเคลื่อนย้ายแรงงาน เนื่องจากการทำเกษตรทฤษฎีใหม่โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีการทำการเกษตรแบบผสมผสาน ทำให้มีกิจกรรมและรายได้ตลอดทั้งปี ซึ่งหลังจากเข้าร่วมโครงการแล้วเกษตรกรมีการเคลื่อนย้ายแรงงานลดลงจากเดิม ร้อยละ 9.56 เป็นร้อยละ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.7เกษตรทฤษฎีใหม่ หรือลดลงร้อยละ 8.84 เนื่องจากสมาชิกในครัวเรือนบางส่วนได้ย้ายกลับมาทำงานในพื้นที่มากขึ้น และบางส่วนได้กลับมาทำการเกษตรแบบผสมผสาน ซึ่งมีกิจกรรมและรายได้ตลอดทั้งปี (3)การบริโภคสินค้าปลอดจากสารพิษ การทำเกษตรทฤษฎีใหม่มีวัตถุประสงค์เพื่อให้เกษตรกรสามารถพึ่งพาตนเอง ลดการพึ่งพาภายนอก ดังนั้น การที่เกษตรกรบริโภคผลผลิตของตนเองที่อยู่ในแปลงจึงมีความปลอดภัยจากสารพิษ โดยเกษตรกรมีการบริโภคผลผลิตของตนเองจากเดิม มูลค่า 4เกษตรทฤษฎีใหม่6 บาท/เดือน เพิ่มขึ้นเป็นมูลค่า 533 บาท/เดือน หรือเพิ่มขึ้น ประสาท สุขเกษตรกระทรวงเกษตรและสหกรณ์7 บาท/เดือน คิดเป็นร้อยละ เกษตรทฤษฎีใหม่5 (4) การลดค่าใช้จ่ายฟุ่มเฟือยหรือค่าใช้จ่ายที่ไม่จำเป็นของครัวเรือน การทำเกษตรทฤษฎีใหม่โดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ในชีวิตประจำวัน จะส่งผลให้พฤติกรรมการใช้จ่ายฟุ่มเฟือยเปลี่ยนแปลงไป โดยหลังจากเกษตรกรเข้าร่วมโครงการ เกษตรกร ร้อยละ 77.66 มีค่าใช้จ่ายฟุ่มเฟือยเท่าเดิม เกษตรกรร้อยละ 3.98 มีค่าใช้จ่ายฟุ่มเฟือยเพิ่มขึ้น และเกษตรกรร้อยละ ประสาท สุขเกษตร8.36 มีค่าใช้จ่ายลดลง เนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการใช้จ่าย เช่น ลดการสูบบุหรี่ การดื่มสุรา การเล่นพนัน รวมถึงการได้เห็นจำนวนค่าใช้จ่ายฟุ่มเฟือยจากการจัดทำบัญชีครัวเรือน ทำให้เกษตรกรตระหนักถึงการออมเพิ่มขึ้น
เกษตรทฤษฎีใหม่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์3;          สำหรับการจัดประชุมขับเคลื่อนโครงการ ฯ ในครั้งนี้ เพื่อรับทราบผลการดำเนินงานในช่วงที่ผ่านมาของ 77 จังหวัด และติดตามความก้าวหน้าของหน่วยงานส่วนภูมิภาคในพื้นที่ ประสาท สุขเกษตร7 จังหวัดภาคเหนือ ซึ่งจังหวัดลำพูน มีเกษตรกรเข้าร่วมโครงการฯ 353 ราย จำแนกเป็น กลุ่มพร้อมมาก ประสาท สุขเกษตรเกษตรทฤษฎีใหม่4 ราย กลุ่มพร้อมปานกลาง เกษตรทฤษฎีใหม่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์เกษตรทฤษฎีใหม่ ราย และกลุ่มพร้อม เกษตรทฤษฎีใหม่7 ราย ทั้งนี้ ได้มีการลงพื้นที่ตรวจเยี่ยมเกษตรกรCell ต้นกำเนิด (เกษตรกรกลุ่มพร้อมมาก) และเกษตรกร Cell แตกตัว ครั้งที่ ประสาท สุขเกษตร (เกษตรกรกลุ่มพร้อมปานกลาง) ในพื้นที่อำเภอเมือง จังหวัดลำพูนด้วย
กระทรวงเกษตรฯ จัดประชุมขับเคลื่อนโครงการ “5 ประสาน สืบสานเกษตรทฤษฎีใหม่ ถวายในหลวง” ระดับกระทรวง พร้อมติดตามการดำเนินงานในพื้นที่ 17 จังหวัดภาคเหนือ
 

ข่าวกระทรวงเกษตรและสหกรณ์+ประสาท สุขเกษตรวันนี้

ARDA จับมือ ฟาร์ม เอ็กซ์โป และพันธมิตร เปิดศึก AGRITHON by ARDA Season 2 เฟ้นหาสุดยอดไอเดียปลุกพลังนวัตกรรมเกษตรไทย ชิงทุนวิจัยรวมกว่า 100 ล้าน

สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) หรือ ARDA ร่วมกับ ฟาร์ม เอ็กซ์โป เดินหน้าจับมือพันธมิตรยักษ์ใหญ่ บริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จำกัด กลุ่มบริษัท ซี แอล พี (CLP Group) และ การยางแห่งประเทศไทย (Rubber Authority of Thailand) เปิดเวทีการแข่งขัน "AGRITHON by ARDA Season 2" เฟ้นหาสุดยอดนวัตกรรมเกษตรระดับประเทศจากนักวิจัย สตาร์ทอัพ เกษตรกรรุ่นใหม่ และเยาวชนทั่วประเทศ คุณชวลิต ชูขจร ประธานกรรมการสำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) อดีตปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์คนที่ 26 กล่าวว่า

นางกาญจนา แดงรุ่งโรจน์ รองเลขาธิการสำนักง... รองฯ กาญจนา ร่วมเปิดงานมหกรรม จากพันธุกรรม สู่ความยั่งยืน — นางกาญจนา แดงรุ่งโรจน์ รองเลขาธิการสำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.) ร่วมเปิด...

นายวิโมกษ์ พรหมทอง เกษตรอำเภอเขาย้อย มอบห... ร่วมงานวันถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื่อเริ่มต้นฤดูกาลผลิตใหม่ (Field Day) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 — นายวิโมกษ์ พรหมทอง เกษตรอำเภอเขาย้อย มอบหมายให้นางสาวจันทิมา...

"กลุ่มเหล็กสหวิริยา" (SSI-TCRSS-TCS-WCE-B... เหล็กสหวิริยาพัฒนาประมงบางสะพานยั่งยืน ผนึกกำลังเครือข่ายประมง-ทิ้งซั้งบอกรักทะเล — "กลุ่มเหล็กสหวิริยา" (SSI-TCRSS-TCS-WCE-BSBM-PPC) เครือข่ายชาวประมงบาง...

กรมพัฒนาที่ดิน ขานรับนโนบายรัฐบาลและกระทร... กรมพัฒนาที่ดิน เน้นทำเกษตรที่ใส่ใจสิ่งแวดล้อม แนะงดเผาตอซัง ใช้ไถกลบช่วยฟื้นฟูปรับปรุงบำรุงดิน — กรมพัฒนาที่ดิน ขานรับนโนบายรัฐบาลและกระทรวงเกษตรและสหกรณ์...

สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาต... มกอช.ร่วมงานวันเกษตรภาคอีสาน ประจำปี 2568 — สำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.) ร่วมจัดนิทรรศการ ในงานวันเกษตรภาคอีสาน ประจำปี 2568 ภายใต้...

นายประยูร อินสกุล ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกร... ปลัดเกษตรฯ เชิญชมความสวยงามของกล้วยไม้ไทยพรีเมี่ยม ที่สยามพารากอน 17-19 ม.ค. นี้ — นายประยูร อินสกุล ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยภายหลังเป็นประธานพิธ...