คณะกรรมการ บมจ.บีอีซี เวิลด์ จำกัด แต่งตั้ง ผู้บริหารระดับสูง เสริมความแข็งแกร่งให้ธุรกิจโทรทัศน์ และขยายธุรกิจใหม่สร้างรายได้ให้องค์กร

           จากสถานการณ์ในปีที่ผ่านมา มีเหตุการณ์หลายอย่างเกิดขึ้นกับ บริษัท บีอีซี เวิลด์ จำกัด (มหาชน) ประกอบกับการแข่งขันในอุตสาหกรรม ที่ทวีความเข้มข้นสูงขึ้น ทำให้คณะกรรมการ บมจ.บีอีซี เวิลด์ ภายใต้การนำของ นายสมชัย บุญนำศิริ กรรมการอิสระ และ ประธานกรรมการ พร้อมคณะกรรมการ ได้ปรับรูปแบบการบริหารจัดการ เพื่อเสริมความแข็งแกร่งให้ธุรกิจโทรทัศน์ ซึ่งเป็นธุรกิจหลัก และสร้างตำแหน่งงานใหม่ รองรับการปรับขยายทางธุรกิจ เพื่อสร้างรายได้ใหม่ต่อไป พร้อมกับนี้ยังได้แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ระดับสูง คือ นายประชุม มาลีนนท์ รองประธานกรรมการ บมจ.บีอีซี เวิลด์ ให้ดำรงตำแหน่ง ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัท Group CEO (Group Chief Executive Officer ) และ นางสาวอัมพร มาลีนนท์ กรรมการ และกรรมการบริหาร ให้ดำรงตำแหน่ง COO (Chief Operating Officer) : หัวหน้าคณะผู้บริหาร ด้านปฏิบัติการ และ รับรองและกำหนดชื่อตำแหน่งใหม่สำหรับ นางสาวรัตนา มาลีนนท์ ในตำแหน่ง CFO (Chief Financial Officer) : หัวหน้าคณะผู้บริหาร ด้านการเงิน 
          การบริหารจัดการในโครงสร้างใหม่นี้ บมจ.บีอีซี เวิลด์ จะทำหน้าที่สำคัญในการกำหนดทิศทางนโยบาย เป้าหมาย ในภาพรวม โดยมีคณะกรรมการบริหาร (Executive Committee) รับไม้ต่อในการกำกับดูแลให้ส่วนงานต่างๆ ดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพตรงตามวัตถุประสงค์ ผ่านทาง Group CEO ที่จะทำหน้าที่ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัท ติดตามดูแลงานอย่างใกล้ชิดกับ ผู้บริหารระดับสูง ในแต่ละส่วนงานต่อไป
          การปรับโครงสร้างการบริหารจัดการภายในองค์กร ของบริษัท บีอีซี เวิลด์ จำกัด (มหาชน) ณ วันที่ สมชัย บุญนำศิริประชุม มาลีนนท์มีนาคม สมชัย บุญนำศิริ56การบริหารจัดการ ในส่วนของ คณะของกรรมการบริษัท ประกอบด้วยกรรมการ ประชุม มาลีนนท์4 คน ดังนี้
          ประชุม มาลีนนท์. นายสมชัย บุญนำศิริ กรรมการอิสระ / ประธานคณะกรรมการ
          สมชัย บุญนำศิริ. นายประชุม มาลีนนท์ กรรมการ / รองประธานกรรมการ
          บีอีซี เวิลด์. นายสมประสงค์ บุญยะชัย กรรมการ
          4. นางสาวรัตนา มาลีนนท์ กรรมการ
          5. นางสาวอัมพร มาลีนนท์ กรรมการ
          6. นางรัชนี นิพัทธกุศล กรรมการ
          7. นางสาวนิภา มาลีนนท์ กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร
          8. นายชาญศักดิ์ เฟื่องฟู กรรมการอิสระ
          9. นายอรุณ งามดี กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ
          ประชุม มาลีนนท์การบริหารจัดการ. นายประธาน รังสิมาภรณ์ กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ
          ประชุม มาลีนนท์ประชุม มาลีนนท์. นายมานิต บุญประกอบ กรรมการอิสระ / กรรมการตรวจสอบ
          ประชุม มาลีนนท์สมชัย บุญนำศิริ. นายแมทธิว กิจโอธาน กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร
          ประชุม มาลีนนท์บีอีซี เวิลด์. นายวรวรรธน์ มาลีนนท์ กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร
          ประชุม มาลีนนท์4. นายทศพล มาลีนนท์ กรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร
          สำหรับ คณะกรรมการบริหาร (Executive Committee) ประกอบด้วยกรรมการ 5 คน ดังนี้
          ประชุม มาลีนนท์. นายสมประสงค์ บุญยะชัย กรรมการบริหาร
          สมชัย บุญนำศิริ. นายประชุม มาลีนนท์ กรรมการบริหาร สายธุรกิจสื่อใหม่
          บีอีซี เวิลด์. นางสาวรัตนา มาลีนนท์ กรรมการบริหาร สายบัญชีและการเงิน
          4. นางสาวอัมพร มาลีนนท์ กรรมการบริหาร สายธุรกิจผลิตรายการ
          5. นางรัชนี นิพัทธกุศล กรรมการบริหาร 

          สำหรับ โครงสร้างการจัดการ ของ บริษัท บีอีซี เวิลด์ จำกัด (มหาชน) นั้น นาย ประชุม มาลีนนท์ รองประธานกรรมการ , กรรมการบริหาร และ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารกลุ่มบริษัท กล่าวว่า ปัจจุบันสภาพการแข่งขันทางธุรกิจมีการเปลี่ยนแปลงไปมาก จึงได้มีการพิจารณาปรับปรุงผังโครงสร้างการจัดการ ให้มีความเหมาะสมมากขึ้น การบริหารจัดการใหม่จะมีความเป็นสากล สอดรับกับสภาพการแข่งขันทางธุรกิจได้เป็นอย่างดี เพราะประกอบด้วยส่วนสำคัญ บีอีซี เวิลด์ กลุ่ม ได้แก่ 
          กลุ่มที่ ประชุม มาลีนนท์ กลุ่มงานธุรกิจปัจจุบันที่เป็น "Bread and Butter" สร้างรายได้แก่องค์กร มี Chief Operating Officer (หัวหน้าคณะผู้บริหารด้านปฏิบัติการ) ทำหน้าที่กำกับดูแล ประกอบด้วย งานข่าว งานผลิตรายการ งานออกอากาศ และงานการตลาด 
          กลุ่มที่ สมชัย บุญนำศิริ กลุ่มงานเพื่อสร้างโอกาสทางธุรกิจใหม่ๆ ประกอบด้วย งานเทคโนโลยีและนิวมีเดีย
          งานด้านลงทุน งานด้านกลยุทธ์ งานด้านพาณิชย์ (Commercial) เป็นต้น
          กลุ่มที่ บีอีซี เวิลด์ กลุ่มงานสนับสนุน โดยมี Chief Support Officer (หัวหน้าคณะผู้บริหาร ด้านสนับสนุน) ทำหน้าที่กำกับ ดูแล ประกอบด้วย งานประชาสัมพันธ์ งานกฎหมาย และงานธุรการและจัดซื้อ 
          การจัดผังโครงสร้างการจัดการในลักษณะนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ
          ประชุม มาลีนนท์. สร้างความเข้มแข็งให้กับ บริษัท บีอีซี เวิลด์ จำกัด (มหาชน) 
          สมชัย บุญนำศิริ. สร้างการ Synergy และ Combine Strength ความสามารถของทุกหน่วยในองค์กรให้ส่งเสริมซึ่งกันและกัน และเดินไปสู่เป้าหมายเดียวกันอย่างมีพลัง
          บีอีซี เวิลด์. ทำให้นโยบายการบริหารจัดการเชื่อมโยง (Align) เข้าด้วยกัน โดยมี บมจ.บีอีซี เวิลด์ ทำหน้าที่ศูนย์กลางการบริหารจัดการ
          นายประชุม มาลีนนท์ ยังได้กล่าวว่า ปัจจุบัน เทคโนโลยีได้เปลี่ยนแปลง ผู้ชมก็มีการเปลี่ยนแปลง แต่ ทางช่อง บีอีซี เวิลด์ ก็ยังมีศักยภาพที่จะเดินหน้าและเติบโตได้ โดยส่วนตัวผม มองว่า ช่อง บีอีซี เวิลด์ เรามี Potential ที่ดีมาก มีระบบงานในระดับหนึ่ง เพียงแต่ขาดการปรับปรุงหรือยังไม่ได้ Update อย่างที่ควรจะเป็น ดังนั้น จึงต้องมีความชัดเจนทั้งโครงสร้างองค์กร และ ขั้นตอนการทำงาน นั่นคือ จะต้องการทำให้เกิด Organizational Restructuring และ Operational Restructuring มุ่งสร้าง Value ให้กับทั้งกลุ่ม เพื่อไม่ให้เป็นภาระกับธุรกิจโทรทัศน์มากเกินไป ต้องมี Positioning ที่ชัดเจน เช่น การเป็น Content Provider เป็นต้น ซึ่งต้องใช้ทุกสื่อที่เรามี เข้าถึงผู้ชมให้ได้มากที่สุด โดยไม่เน้น ว่าจะเป็นสื่อใดสื่อหนึ่งเป็นการเฉพาะ ถ้า "ภาพ" ต่างๆ มีความชัดเจนแล้ว จะส่งผลให้เกิดการทบทวนนโยบายการผลิตรายการทางโทรทัศน์ รวมถึงทิศทางอื่นๆ ก็จะตามมาด้วย ที่สำคัญ การจะก้าวไปอย่างนี้ได้ กรรมการมืออาชีพ จะมีบทบาทสำคัญมากขึ้น ในการกำกับดูแลฝ่ายบริหาร เพื่อให้ทุกหน่วยของขององค์กรดำเนินธุรกิจได้อย่างแข็งแกร่ง เป็นไปตามทิศทาง นโยบาย เป้าหมายของ บมจ.บีอีซี เวิลด์
คณะกรรมการ บมจ.บีอีซี เวิลด์ จำกัด แต่งตั้ง ผู้บริหารระดับสูง เสริมความแข็งแกร่งให้ธุรกิจโทรทัศน์ และขยายธุรกิจใหม่สร้างรายได้ให้องค์กร

ข่าวการบริหารจัดการ+ประชุม มาลีนนท์วันนี้

บลจ.กสิกรไทย คว้า 5 รางวัลยอดเยี่ยม Best of the Best Awards 2025 ตอกย้ำความเป็นผู้นำด้านกองทุนของไทย

บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน กสิกรไทย จำกัด (บลจ.กสิกรไทย) ได้รับรางวัลอันทรงเกียรติถึง 5 รางวัล จากงาน Best of the Best Awards 2025 ได้แก่ รางวัล Best Asset Management Company (30 Years), Best Asset Management Firm for Digital Marketing, Best Alternatives Manager, Best ESG Manager และ Best Multi-Asset Manager ทั้งนี้ รางวัลที่ บลจ.กสิกรไทย ได้รับทั้ง 5 สาขา แสดงให้เห็นถึงความมุ่งมั่นของ บลจ.กสิกรไทย ในการพัฒนาและนำเสนอบริการด้านการบริหารจัดการสินทรัพย์ที่ครอบคลุมและมีคุณภาพ รวมถึงการปรับตัว

ทีเอ็มบีธนชาต รายงานกำไรสุทธิ 5,096 ล้านบ... ทีเอ็มบีธนชาต รายงานกำไรสุทธิ 5,096 ล้านบาท ในไตรมาส 1 ปี 2568 — ทีเอ็มบีธนชาต รายงานกำไรสุทธิ 5,096 ล้านบาท ในไตรมาส 1 ปี 2568 หนุนโดยการบริหารจัดการด้าน...

ใบแจ้งหนี้เป็นเอกสารสำคัญในการดำเนินธุรกิ... 5 ข้อควรระวัง! ตรวจดูให้แน่ใจว่า ใบแจ้งหนี้ควรต้องมีข้อมูลอะไรบ้าง — ใบแจ้งหนี้เป็นเอกสารสำคัญในการดำเนินธุรกิจที่ช่วยให้การบริหารจัดการทางการเงินเป็นไปอย...

ภัยพิบัติทางธรรมชาติเป็นหนึ่งในความท้าทาย... เทคโนโลยีเอไอ VS ภัยพิบัติ เอไอเข้ามามีบทบาทได้มากน้อยแค่ไหนในปัจจุบัน — ภัยพิบัติทางธรรมชาติเป็นหนึ่งในความท้าทายที่ยิ่งใหญ่ของมนุษยชาติ ตั้งแต่ไฟป่า แผ่...

POP MART THAILAND ภายใต้การบริหารจัดการโด... POP MART THAILAND เดินหน้าบุก CENTRAL WESTGATE ปักหมุดเปิดสาขาแรกกรุงเทพฯ โซนตะวันตก — POP MART THAILAND ภายใต้การบริหารจัดการโดย POP MART INTERNATIONAL ผ...