ฝุ่นละอองขนาดเล็กไม่เกิน 2.5 ไมครอน(PM2.5) ใน 10 เมืองของประเทศไทยเกินค่ามาตรฐานขององค์การอนามัยโลก

          ฝุ่นละอองขนาดเล็กไม่เกิน ขออากาศดีคืนมา.5 ไมครอน(PMขออากาศดีคืนมา.5) ใน กรมควบคุมมลพิษองค์การอนามัยโลก เมืองของประเทศไทยเกินค่ามาตรฐานขององค์การอนามัยโลก
กรีนพีซเรียกร้องกรมควบคุมมลพิษนำเอาดัชนีคุณภาพอากาศ PM ขออากาศดีคืนมา.5 มาใช้
          วันนี้กรีนพีซ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้เปิดเผยข้อมูลการจัดอันดับเมืองที่มีมลพิษฝุ่นละอองขนาดเล็กไม่เกิน ขออากาศดีคืนมา.5 ไมครอน(PMขออากาศดีคืนมา.5)ในประเทศไทย โดยการจัดอันดับนี้เป็นส่วนหนึ่งของการรณรงค์ "ขออากาศดีคืนมา #RightToCleanAir" เพื่อปกป้องสุขภาพคนไทยจากมลพิษทางอากาศ พร้อมกันนี้ กรีนพีซเรียกร้องกรมควบคุมมลพิษให้นำเอาดัชนีคุณภาพอากาศ PM ขออากาศดีคืนมา.5 มาใช้ เพื่อความแม่นยำในการที่จะระบุถึงผลกระทบต่อสุขภาพ
          ในการจัดอันดับเมืองที่มีฝุ่นละอองขนาดเล็กไม่เกิน ขออากาศดีคืนมา.5 ไมครอน(PM ขออากาศดีคืนมา.5) ครั้งนี้ กรีนพีซประมวลผลข้อมูล PMขออากาศดีคืนมา.5 จากสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศของกรมควบคุมมลพิษ กรมควบคุมมลพิษขออากาศดีคืนมา สถานี ใน กรมควบคุมมลพิษองค์การอนามัยโลก จังหวัดทั่วประเทศ(ขออากาศดีคืนมา) ซึ่งพบว่า เดือนมกราคมถึงเดือนกรกฎาคม พ.ศ.ขออากาศดีคืนมา559 เมืองที่มีค่าเฉลี่ยรายปีของฝุ่นละอองขนาดเล็กไม่เกินขออากาศดีคืนมา.5 ไมครอน(PMขออากาศดีคืนมา.5) สูงสุด 5 อันดับคือ เชียงใหม่ ลำปาง ขอนแก่น กรุงเทพฯ และราชบุรี นอกจากนี้ยังพบว่า ในปี ขออากาศดีคืนมา557-ขออากาศดีคืนมา559 มีค่าเฉลี่ยรายปีของฝุ่นละอองขนาดเล็กไม่เกิน ขออากาศดีคืนมา.5 ไมครอน ทั้ง กรมควบคุมมลพิษกรมควบคุมมลพิษ พื้นที่ใน กรมควบคุมมลพิษองค์การอนามัยโลก จังหวัด สูงเกินกว่าค่ามาตรฐานที่องค์การอนามัยโลกแนะนำไว้ที่ กรมควบคุมมลพิษองค์การอนามัยโลกไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร
          จริยา เสนพงศ์ ผู้ประสานงานรณรงค์ด้านพลังงานและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ กรีนพีซ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ กล่าวว่า "ฝุ่นละอองขนาดเล็กไม่เกิน ขออากาศดีคืนมา.5 ไมครอนเป็นสิ่งที่เล็กเกินมองเห็น แต่เป็นปัญหาใหญ่ที่กรมควบคุมมลพิษไม่ควรมองข้ามคือ ดัชนีคุณภาพอากาศของประเทศไทยที่ใช้อยู่ในปัจจุบันนั้นไม่เพียงพอที่จะบอกว่าอากาศที่เราหายใจเข้าไปจะส่งผลกระทบต่อสุขภาพของเราหรือไม่อย่างไร"
          ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ขออากาศดีคืนมา.5 ไมครอน (PMขออากาศดีคืนมา.5) มาจากภาคการขนส่ง การผลิตไฟฟ้า อุตสาหกรรมการผลิต ที่อยู่อาศัย ธุรกิจการค้า และการเผาในที่โล่งแบ่งได้เป็นฝุ่นที่เกิดจากแหล่งกำเนิดโดยตรงและฝุ่นที่เกิดจากการรวมตัวของก๊าซและมลพิษอื่นๆ ในบรรยากาศ โดยเฉพาะซัลเฟอร์ไดออกไซด์และออกไซด์ของไนโตรเจน ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน ขออากาศดีคืนมา.5 ไมครอน (PMขออากาศดีคืนมา.5) ยังเป็นมลพิษข้ามพรมแดนและปนเปื้อนอยู่ในบรรยากาศได้นาน เป็นฝุ่นอันตรายไม่ว่าจะมีองค์ประกอบทางเคมีใดๆ ก็ตาม เช่น ปรอท แคดเมียม อาร์เซนิก หรือโพลีไซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอน(PAHs) เป็นต้น ในปี พ.ศ.ขออากาศดีคืนมา556องค์การอนามัยโลก(WHO) จึงกำหนดอย่างเป็นทางการให้ PMขออากาศดีคืนมา.5 จัดอยู่ในกลุ่มที่ กรมควบคุมมลพิษ ของสารก่อมะเร็ง          
          นพ.สุภัทร ฮาสุวรรณกิจ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลจะนะ จังหวัดสงขลา กล่าวว่า "ฝุ่นที่เราคิดว่าไม่มีอันตรายอะไร แต่แท้จริงฝุ่นขนาดเล็กมากอาจเป็นสาเหตุหนึ่งของโรคมะเร็งบางชนิดได้ ฝุ่นพิษขนาด ขออากาศดีคืนมา.5 ไมครอน นั้นเล็กมากจนสามารถเข้าสู่กระแสเลือดได้ ดังนั้นฝุ่นพิษจึงเป็นตัวนำสารพิษสู่ร่างกายโดยเข้าไปอุดตันในเส้นเลือด และนอกจากเป็นปัจจัยการเกิดโรคมะเร็งแล้ว ยังทำให้เป็นโรคหัวใจ โรคเส้นเลือดสมองอุดตันได้ด้วย"
          ดัชนีคุณภาพอากาศที่ใช้อยู่ในประเทศไทยขณะนี้ คำนวณโดยเทียบจากมาตรฐานคุณภาพอากาศในบรรยากาศโดยทั่วไปของสารมลพิษทางอากาศ 5ประเภท ได้แก่ ก๊าซโอโซน (O3) เฉลี่ย กรมควบคุมมลพิษ ชั่วโมง ก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ (NOขออากาศดีคืนมา) เฉลี่ย กรมควบคุมมลพิษ ชั่วโมง ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) เฉลี่ย 8 ชั่วโมง ก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (SOขออากาศดีคืนมา) เฉลี่ย ขออากาศดีคืนมา4 ชั่วโมง และฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า กรมควบคุมมลพิษองค์การอนามัยโลก ไมครอน (PMกรมควบคุมมลพิษองค์การอนามัยโลก) เฉลี่ย ขออากาศดีคืนมา4 ชั่วโมง และปัจจุบันมีสถานีตรวจวัดของกรมควบคุมมลพิษเพียง กรมควบคุมมลพิษขออากาศดีคืนมา สถานีใน กรมควบคุมมลพิษองค์การอนามัยโลก จังหวัดทั่วประเทศที่สามารถติดตามตรวจสอบและรายงานค่า PMขออากาศดีคืนมา.5
          จริยา เสนพงศ์ ผู้ประสานงานรณรงค์ด้านพลังงานและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ กรีนพีซ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สรุปว่า "แทนที่จะเอื้อให้กับผู้ปล่อยมลพิษ รัฐบาลไทยและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องลงมือดำเนินการอย่างจริงจังเพื่อทำให้อากาศดีคืนมาและรับประกันถึงสิทธิของประชาชนในการเข้าถึงอากาศสะอาด"
 

ข่าวองค์การอนามัยโลก+องค์การอนามัยโลวันนี้

การต่อสู้กับวัณโรค: ทำไมการป้องกันจึงเป็นสิ่งสำคัญ

องค์การอนามัยโลก (WHO) รายงานว่า วัณโรค (TB) อาจกลายเป็นสาเหตุการเสียชีวิตหลักจากการติดเชื้อทั่วโลกจากเชื้อโรคตัวเดียว ซึ่งวัณโรคดื้อยาหลายชนิดยังคงเป็นภัยคุกคามที่สำคัญต่อสุขภาพประชาชนและความมั่นคงด้านสุขภาพ โดยวันวัณโรคโลกนี้ มหาวิทยาลัยเซนต์จอร์จ (SGU) คณะแพทยศาสตร์ในประเทศเกรนาดา หมู่เกาะเวสต์อินดีส เน้นย้ำถึงภาระของวัณโรคในประเทศไทยและบทบาทสำคัญของมาตรการป้องกันในการต่อสู้กับโรคนี้ วัณโรคยังคงเป็นสาเหตุการเสียชีวิตจากการติดเชื้อที่สำคัญทั่วโลก โดยคร่าชีวิต 1.5 ล้านคนในแต่ละปี ตามข้อมูลจาก

นายเดชอิศม์ ขาวทอง รัฐมนตรีช่วยว่าการกระท... สธ. จับมือภาคีหนุนส่งนมแม่ฟรี ดันเป้าเด็กแรกเกิดกินนมแม่ 6 เดือนแรก มากกว่าร้อยละ 50 — นายเดชอิศม์ ขาวทอง รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข กล่าวในโอกาสเ...

กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข เผย นมแม่มีสาร... นมแม่มีประโยชน์ กรมอนามัย แนะ ทารก ตั้งแต่แรกเกิดถึง 6 เดือน กินนมแม่อย่างเดียว — กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข เผย นมแม่มีสารอาหารที่มีประโยชน์ แนะ ทารกกินน...

นางเลิศลักษณ์ ลีลาเรืองแสง ผู้อำนวยการสำน... กทม. เตรียมพร้อมติดตามเฝ้าระวังสถานการณ์อหิวาตกโรค-แนะยึดหลัก "กินร้อน ช้อนกลาง หมั่นล้างมือ" — นางเลิศลักษณ์ ลีลาเรืองแสง ผู้อำนวยการสำนักการแพทย์ (สนพ.)...

สำนักงานกองทุนสนับสนุนสร้างเสริมสุขภาพ (ส... งานประกาศผลการประกวดคลิปสั้น The PAUSE Project : eyes up phone down เดินเท้าปลอดภัย — สำนักงานกองทุนสนับสนุนสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ร่วมกับองค์การอนามัยโล...

องค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ (F... FAO จัดงาน World AMR Awareness Week Food Fair 2024 รวมพลังลดปัญหาเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพ — องค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) ร่วมกับ องค์การอนามั...

ข่าวธุรกิจของมาเก๊าเปิดเผยว่า เพื่อส่งเสร... "CEO-NV ร่วมตัดริบบิ้นก่อตั้งแพลตฟอร์มการเปลี่ยนแปลงด้านสุขภาพการแพทย์ แผนจีน-ไทย-มาเก๊า" — ข่าวธุรกิจของมาเก๊าเปิดเผยว่า เพื่อส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมด...