วสท.เตือนความเสี่ยงภัยพิบัติ ปี59 เตรียมจัดงาน “ประเทศไทย VS ภัยพิบัติ” 28 พ.ย. นี้ ที่โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ฯ

          จากประสบการณ์ที่ประเทศไทยได้เผชิญกับปัญหาภัยพิบัติที่สร้างความเสียหายรุนแรงต่อสังคม ธุรกิจอุตสาหกรรม เศรษฐกิจ การท่องเที่ยว คุณภาพชีวิตและภาพลักษณ์ของประเทศเป็นมูลค่ามหาศาล วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) ซึงเป็นองค์กรเสาหลักด้านวิศวกรรมของประเทศได้เข้ามามีบทบาทในการใช้องค์ความรู้ด้านวิศวกรรมและเทคโนโลยีเพื่อช่วยเหลือฟื้นฟูประชาชนและชุมชนกรณีภัยพิบัติต่างๆ อย่างไรก็ตามการเตรียมพร้อมรับมือและการป้องกันก็มีความสำคัญเช่นกัน วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ จึงได้จัดให้มีการแถลงข่าวกระตุ้นเตือนคนไทยถึงความเสี่ยงต่อภัยพิบัติและการเตรียมตัวรับมือ เรื่อง "ประเทศไทย VS ภัยพิบัติ̷วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ;คนไทยเตรียมพร้อมหรือยัง?" พร้อมกำหนดจัดนิทรรศการสำหรับประชาชนในวันเสาร์ 28 พ.ย.นี้ ณ บริเวณหน้าห้องคอนเวนชั่นฮอล์ ชั้น 22 โรงแรมเซ็นทารา แกรนด์ แอท เซ็นทรัลเวิลด์ สี่แยกราชประสงค์ รวมทั้งเปิดเวทีเสวนาจากผู้เชียวชาญทุกสาขาเพื่อเสริมสร้างความรู้ในภัยพิบัติชนิดต่างๆ บรรเทาความเสี่ยงและผลกระทบในปี 2559 อีกด้วย
          ศ.ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์ (Prof. Dr. Suchatvee Suwansawat) นายก วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) กล่าวว่า เมื่อเร็ว ๆ นี้ The Economist Intelligence Unit ได้จัดอันดับ 5วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ เมืองที่ปลอดภัยที่สุดสำหรับการอยู่อาศัยประจำปี 2558 โดยวัดจาก 4 ปัจจัยหลัก ได้แก่ ความปลอดภัยทางดิจิตอล ความปลอดภัยด้านสุขภาพ ความปลอดภัยด้านโครงสร้างพื้นฐาน และความปลอดภัยส่วนบุคคล ซึ่งเมืองไทย กรุงเทพมหานคร ติดอันดับ 39 จากผลการจัดอันดับความปลอดภัยเมืองใหญ่ทั่วโลกได้ 63 คะแนนจาก 1วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ สรุปได้ว่าความปลอดภัยในเมืองไทยยังอยู่ในระดับกลางค่อนข้างต่ำถือว่ามีความน่าเป็นห่วง โดยเฉพาะเหตุการณ์ภัยพิบัติที่เกิดอย่างมีความถี่มากขึ้นเรื่อยๆ โดยมีตัวอย่างที่เกิดในประเทศไทยเองเช่นเหตุการณ์สึนามิ ปี 2547 เหตุการณ์มหาอุทกภัยปี 2554 และล่าสุดเหตุการณ์แผ่นดินไหวที่จังหวัดเชียงรายปี 2557 สร้างความเสียหายครอบคลุมพื้นที่ 7 อำเภอ มีสิ่งปลูกสร้างบ้านเสียหายรวม 8,463 แห่ง รวมมูลค่าความเสียหายกว่า 86วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ ล้านบาท ในประเทศต่างๆ หลายภูมิภาคทั่วโลก ซึ่งแนวโน้มเหล่านั้นน่าจะเป็นสัญญาณบอกว่ามนุษย์เราควรที่จะเริ่มต้นคิดถึงการรับมือสถานการณ์เช่นนั้นอย่างจริงจังและมีวิธีการที่เราสามารถใช้เตรียมตัวรับมือกับสถานการณ์เหล่านั้นได้อย่างทันท่วงที เนื่องด้วยการก้าวหน้าทางวิศวกรรมและเทคโนโลยีมี่เจริญก้าวหน้ามากขึ้น หากคนไทยมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในเรื่องของการเตรียมความพร้อมรับมือกับภัยพิบัติที่อาจเกิดขึ้นในรูปแบบต่างๆ ก็จะสามารถเอาชีวิตรอดและฟื้นฟูเมืองได้อย่างรวดเร็ว
          วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) ซึ่งเป็นเสาหลักของประเทศด้านวิศวกรรมโดยพัฒนามาตรฐานวิชาชีพวิศวกรให้ก้าวไกลเพื่อพัฒนาประเทศให้เจริญก้าวหน้าแล้ว เรายังมุ่งช่วยเหลือแบ่งปันแก่สังคมด้วย วสท.จึงมุ่งเน้นการช่วยเหลือประเทศไทยเมื่อเกิดภัยพิบัติอย่างรอบด้านทั้งการวิเคราะห์แนวโน้มเพื่อป้องกัน และเตรียมการรับมือก่อนเกิดภัยพิบัติ การเข้าฟื้นฟูและช่วยเหลือเมื่อยามเกิดภัยพิบัติ รวมถึงการถอดบทเรียนหลังการเกิดภัยพิบัติในแต่ละครั้งเพื่อนำมาปรับใช้หากมีการเกิดภัยพิบัติขึ้นอีกครั้ง ในวาระครบรอบ 72 ปี วสท.เตรียมจัดงานนิทรรศการ "ประเทศไทย VS ภัยพิบัติ̷วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ;คนไทยเตรียมพร้อมหรือยัง?" ในวันเสาร์ที่ 28 พ.ย. 2558 เวลา 9.วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ น. – 16.3วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ น. ณ บริเวณหน้าห้องคอนเวนชั่นฮอล์ ชั้น 22 โรงแรมเซ็นทารา แกรนด์ แอท เซ็นทรัลเวิลด์ โดยเป็นรูปแบบนิทรรศการที่ให้สาระน่ารู้แก่คนไทยเกี่ยวกับที่มา สาเหตุและลักษณะการเกิดภัยพิบัติประเภทต่างๆ และคำแนะนำวิธีป้องกันและรับมือกับภัยพิบัติแก่ประชาชน นวัตกรรมจากภาครัฐและเอกชนในการป้องกันและบรรเทาภัยพิบัติ นอกจากนี้ยังเชิญผู้เชี่ยวชาญจากองค์กรชั้นนำของประทศไทยมาเปิดเวทีเสวนาในหัวข้อที่น่าสนใจตลอดวัน พร้อมด้วยบูธคลินิกช่างเพื่อประชาชน ให้บริการคำปรึกษาเกี่ยวกับงานวิศวกรรมและการซ่อมแซมสำหรับประชาชน โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายใดๆ
          รศ.เอนก ศิริพานิชกร (Assoc.Prof.Anek Siripanichgorn) ประธานสาขาวิศวกรรมโยธา วสท. กล่าวว่าภัยพิบัติที่ประเทศไทยจะต้องเผชิญมีหลายสาเหตุ หนึ่งในนั้นเป็นภัยพิบัติจากธรรมชาติ (Natural Diasters) สำหรับประเทศไทยมี 8 ประเภท ประกอบไปด้วย 1. แผ่นดินไหว (Earthquakes) ดังที่เคยเกิดแผ่นดินไหวที่ อ.แม่ลาว เมื่อปี 2557 ซึ่งปรากฏพบว่าอาคารขนาดเล็ก (สูงไม่เกิน 15 ม.) ที่ไม่ใช่อาคารวิศวกรรมควบคุมเกิดความเสียหายมาก ซึ่งปัจจุบันมีความพยายามที่จะประกาศให้เป็นอาคารควบคุม และมีวิศวกรดูแลในบริเวณ 2 ตามประกาศกฎกระทรวงฯ 2. คลื่นใต้น้ำ (Tsunami) ซึ่งอาจเป็นผลจากการเกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่มากในรอยเลื่อนใกล้ภาคใต้ประเทศไทย 3. วาตภัย เป็นพายุโซนร้อนที่เกิดเป็นประจำตามฤดูกาล เกิดเพิ่มมากขึ้นจากการที่ประเทศไทยมีบรรยากาศที่ร้อนขึ้นจากการใช้พลังงานที่มีอัตราเพิ่มสูงมากในปัจจุบัน มีผลทำให้อาคาร สิ่งปลูกสร้าง และป้ายโฆษณาขนาดใหญ่พังเสียหาย ทั้งนี้ปัจจุบันกรมโยธาธิการ และผังเมืองได้ออกมาตรฐานอาคารรับแรงลม (มยผ. 1311) โดยกำหนดความเร็วลมในการออกแบบไว้ในช่วง 9วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ-11วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ กิโมเมตรต่อชั่วโมง ซึ่งต่ำกว่าในหลายประเทศที่มีปัญหาจากไต้ฝุ่น แต่วิศวกรผู้ปฏิบัติงานยังขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องนี้ 4. อุทกภัย (Floods) ซึ่งมีผลพวงเกิดจากการสร้างระบบป้องกันน้ำท่วมใหญ่เมื่อปี พ.ศ. 2554 รวมทั้งการระบายน้ำฝนที่ท่วมขังในกรุงเทพมหานคร ที่ใช้ค่าคาบการเกิดซ้ำของน้ำฝนในการออกแบบระบบระบายน้ำในอดีตไว้ต่ำ (ปกติใช้ค่านี้เท่ากับ 2-1วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ ปี) 5. ภัยแล้ง (Droughts) ที่ไม่ได้กระทบเฉพาะพื้นที่เพาะปลูกเท่านั้น ยังมีผลต่อการคืบคลานของน้ำเค็ม ที่เกิดขึ้นเหนือสถานีสูบน้ำดิบ บ้านสำแล จังหวัดปทุมธานี และจะมีผลโดยตรงกับการผลิตน้ำของการประปานครหลวง 6. อัคคีภัย (Fires) ที่เกิดขึ้นอาคารขนาดใหญ่ ซึ่งผู้ใช้อาคารจำเป็นต้องเตรียมพร้อม และซ้อมการผจญเพลิง และหนีไฟ 7. ดินถล่ม (Landslide) ที่เกิดขึ้นกับผู้มีบ้านเรือนอยู่ในลาดเชิงเขา โดยเฉพาะการสร้างที่พักบริการประชาชนนักท่องเที่ยว 8. โรคระบาดในคน และสัตว์ (Human Epidemics and Animal Diseases) ซึ่งเกิดขึ้นในหลาย ๆ ภูมิภาค และต้องเผชิญหน้ารุนแรงมากขึ้นในอนาคตจากระบบขนส่งที่ทันสมัยในปัจจุบัน
          แนวทางเร่งด่วนในประเด็นภัยพิบัติจากธรรมชาติ วสท. จะดำเนินการในด้านแผ่นดินไหวที่อาจเกิดขึ้นในพื้นที่กรุงเทพฯ และปริมณฑล ซึ่งเกิดจากการพ้องคลื่นของการสั้นธรรมชาติของอาคารกับผลตอบสนองของดินอ่อนในแอ่งกรุงเทพฯ ซึ่งจะแตกต่างอย่างมากกับผลตอบสนองของแผ่นดินไหวโดยตรงในเขตที่เกิดแผ่นดินไหวรุนแรง เช่น ภาคเหนือ ทั้งนี้ วสท.จะติดตั้งเครื่องวัดแรงสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว (Seismometer) อันแรกที่อาคาร วสท. และจะสร้างเครือข่ายของความสนับสนุนจากภาครัฐ และเอกชนในการติดตั้งอุปกรณ์ดังกล่าวในอาคารของตนเอง และจะร่วมบริหารจัดการข้อมูลกับกรมโยธาธิการและผังเมือง กรุงเทพมหานคร เพื่อทำให้ได้ข้อมูลการสั่นสะเทือนเพื่อออกแบบอาคารให้ปลอดภัย และประหยัดมากขึ้น ในส่วนของการประปานครหลวง วสท.ได้ลงนามให้ความร่วมมือทางวิชาการ และจะร่วมกับการเสนอวิธีการจัดการส่งน้ำดิบจากบ้านสำแล จังหวัดปทุมธานี มายังโรงกรองสามเสน และการสำรวจเพื่อจัดเก็บน้ำประปาในหอสูงที่กระจายอยู่ทั่วไปในกรุงเทพ ฯ เพื่อใช้เป็นปริมาณสำรอง และปรับบังคับความดันน้ำในชั่วโมงการใช้น้ำสูงเพื่อลดค่าพลังงานในการผลิตน้ำประปา
          ดร.ธเนศ วีระศิริ (Thanes Weerasiri) ที่ปรึกษาคณะอนุกรรมการคลินิกช่าง วสท. กล่าวว่า "อีกกิจกรรมเด่น คลินิกช่าง วสท.ซึ่งปกติจะเปิดบริการในวันเสาร์สุดท้ายของทุกเดือน ตั้งแต่เวลา 13.วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ น. ถึง 17.วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ น. ณ. อาคาร วสท. นั้น จะมาร่วมเปิดบู้ทบริการประชาชนในงานนิทรรศการ "ประเทศไทย VS ภัยพิบัติ̷วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ;คนไทยเตรียมพร้อมหรือยัง? " ในวันเสาร์ที่ 28 พ.ย. 2558 เวลา 9.วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ น. – 16.3วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ น. ณ บริเวณหน้าห้องคอนเวนชั่นฮอล์ ชั้น 22โดยให้บริการคำปรึกษาแนะนำและตอบปัญหาด้านวิศวกรรมแก่ผู้มางานเกี่ยวกับอาคาร บ้านพักอาศัย และสิ่งก่อสร้างต่างๆ ให้กับประชาชนโดยทั่วไป ฟรี!! จึงนับเป็นศูนย์รวมในการแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรม จากวิศวกรผู้ทรงคุณวุฒิหลากหลายวิชาชีพ อำนวยความสะดวกและเป็นประโยชน์ มุ่งเน้นให้บริการตอบคำถามและจัดช่วงเวลาเสริมความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับบ้าน เช่น ขั้นตอนการขออนุญาตก่อสร้าง ขั้นตอนการก่อสร้าง การบำรุงรักษาและการแก้ไข กับประชาชนโดยทั่วไปอย่างแท้จริง ในระยะ 2 ปีนี้ปัญหาที่ประชาชนมักจะสอบถามมากที่สุด ได้แก่ การแก้ไขบ้านร้าว บ้านทรุด ทำได้อย่างไร ทำไมส่วนต่อเติมจึงเกิดการทรุดตัวไม่เท่ากับตัวบ้าน รอยแตกใต้พื้นคอนกรีตเสริมเหล็กเกิดและแก้ไขได้อย่างไร พื้นดินใต้บ้านยุบจะเป็นอันตรายหรือไม่ เป็นต้น
          นายประสิทธ์ เหมวราพรชัย (Prasit Hemwarapornchai) ประธานวิศวกรอาวุโส วสท. และที่ปรึกษาคณะกรรมการสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า วสท. กล่าวว่า เรื่องของไฟฟ้าถือว่ามีความสำคัญมากต่อการดำเนินชีวิตและธุรกิจ โดยเฉพาะเมื่อเกิดภัยพิบัติไฟฟ้าเป็นสิ่งที่ต้องให้ความสำคัญอันดับต้นๆ ทั้งในเรื่องของการเตรียมไฟฟ้าสำรองเมื่อเกิดภัยพิบัติ หรือการระวังอันตรายจากไฟฟ้า ไฟฟ้าแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ 1.ไฟฟ้าที่ใช้ในบ้าน ซึ่งมีกระแสไฟฟ้าอยู่ที่ 23วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ โวลต์ ถือว่าเป็นกระแสไฟฟ้าแรงต่ำ สิ่งที่ต้องระวังสำหรับไฟฟ้าภายในบ้านเมื่อเกิดภัยพิบัติได้แก่ การเกิดไฟฟ้ารั่วตามพื้นบ้าน หรือตามผนังบ้านหากเราไปสัมผัส อาจถูกไฟดูดได้ การป้องกันการถูกไฟดูดคือห้ามเข้าใกล้เกินกว่า 3 เมตร และเมื่อมีคนถูกไฟดูดหากจะเข้าไปช่วยเหลือต้องมีอุปกรณ์เช่น ผ้าแห้ง เชือกแห้ง หรือไม้แห้งห้ามเข้าไปช่วยด้วยตัวเปล่าโดยเด็ดขาด 2.ไฟฟ้านอกบ้านหรือไฟฟ้าจากการไฟฟ้า เป็นกระแสไฟฟ้าแรงสูงตั้งแต่ 12,วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ โวลต์ขึ้นไป หากเกิดภัยพิบัติขณะอยู่นอกบ้านจะต้องไม่เข้าใกล้เสาไฟฟ้าแรงสูง หากพบว่ามีเสาไฟฟ้าล้ม หรือสายไฟขาด หรือมีกิ่งไม้ หรือต้นไม้ล้มพาดสายไฟต้องรีบแจ้งการไฟฟ้าโดยด่วน
          สำหรับแนวทางป้องกันระบบไฟฟ้าในอาคารบ้านเรือนก่อนเกิดภัยพิบัติต้องปฏิบัติดังนี้ 1.ต้องติดตั้งให้เป็นไปตามมาตรฐานการติดตั้งไฟฟ้าสำหรับประเทศไทยของ วสท. 2.ใช้สวิตช์ไฟฟ้าและขนาดของสายไฟที่เหมาะสม อุปกรณ์ไฟฟ้าที่ใช้ต้องได้มาตรฐานอุตสาหกรรม (มอก.) ส่วนอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ไม่มีมาตรฐานอุตสาหกรรมกำหนดไว้ก็ต้องให้ใช้มาตรฐานสากลโดยเฉพาะมาตรฐาน IEC 3.ต้องติดตั้งสายกราวน์หรือที่เรียกกันว่าสายดิน เพื่อป้องกันอันตรายจากไฟฟ้ารั่วโดยเฉพาะเครื่องใช้ไฟฟ้าในครัวและในห้องน้ำเพราะมีโอกาสเกิดไฟฟ้ารั่วได้ง่าย 4.ต้องแยกวงจรสำคัญเช่น ปั๊มน้ำ ห้องน้ำ ห้องครัว เป็นต้น และต้องมีสวิตช์ตัดไฟรั่วที่ได้มาตรฐาน 5.ปัจจุบันได้มีการกำหนดการติดตั้งเต้ารับภายในบ้านหลังจากเกิดเหตุการณ์น้ำท่วมปี 2554 ว่าต้องติดตั้งเต้ารับให้สูงจากพื้นบ้านอย่างน้อย 1.5วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ เมตร ขึ้นไป และต้องติดตู้เมนสวิตช์ในระดับสูง และสุดท้าย 6.ควรหมั่นตรวจเช็คอุปกรณ์ไฟฟ้าภายในบ้านอยู่เสมอหากมีจุดไหนชำรุดควรซ่อมแซมให้เรียบร้อย
          อย่างไรก็ตามการติดตั้งหรือการซ่อมแซมไฟฟ้าหลังเกิดภัยพิบัติต้องเป็นไปตามมาตรฐานติดตั้งทางไฟฟ้าของ วสท. อย่างเคร่งครัด ใช้อุปกรณ์ที่ได้มาตรฐาน และดำเนินการโดยวิศวกรผู้เชี่ยวชาญหรือช่างที่ผ่านการอบรมเป็นผู้ดำเนินการให้ ซึ่งประเทศไทยกำลังจะมีกฎหมายบังคับใช้ว่าช่างไฟฟ้าที่จะดำเนินงานเกี่ยวกับระบบไฟฟ้าจะต้องผ่านการอบรมและการสอบเพื่อรับใบรับรองจากวสท.และหน่วยงานเครือข่าย หากช่างไฟฟ้าที่ไม่มีใบรับรองดำเนินการโดยพลการจะถือว่าผิดกฎหมาย เพราะเรื่องความปลอดภัยของระบบไฟฟ้าเป็นเรื่องสำคัญ หากปล่อยปละละเลยจะเป็นอันตรายถึงชีวิตและทรัพย์สินได้
 

ข่าววิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ+วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยวันนี้

สภาคณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ฯ จับมือ วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ และสภาวิศวกร MOU ยกระดับมาตรฐานการศึกษา พัฒนากำลังคนในสายวิชาชีพทางวิศวกรรม

สภาคณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์แห่งประเทศไทย จัดพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ หรือ MOU กับวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ และ สภาวิศวกร โดยมี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชลธิศ เอี่ยมวรวุฒิกุล ประธานสภาคณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ (คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม) คนขวา และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธเนศ วีระศิรินายก วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ และ รองศาสตราจารย์ ดร.ปิยะบุตร วานิชพงษ์พันธุ์ นายกสภาวิศวกร ร่วมลงนามบันทึกความร่วมมือร่วมกัน เพื่อพัฒนาคุณภาพทางวิชาการ

นายสมจิตร์ เปี่ยมเปรมสุข กรรมการบริหาร บร... "STI Group" ร่วมหารือการจัดทำมาตรฐาน BIM ร่วมกับ วสท. — นายสมจิตร์ เปี่ยมเปรมสุข กรรมการบริหาร บริษัท สโตนเฮ้นจ์ อินเตอร์ จำกัด (มหาชน) หรือ STI กลุ่มบริษ...

บริษัท แอพพลิแคด จำกัด (มหาชน) หรือ APP โ... APP-วสท.เซ็น MOU ผนึกความร่วมมือพัฒนาอุตสาหกรรมก่อสร้างไทย — บริษัท แอพพลิแคด จำกัด (มหาชน) หรือ APP โดย นายสมศักดิ์ วรรักษา (ที่2 จากขวา) ผู้อำนวยการฝ่าย...

ความประมาทเพียงครั้งเดียวอาจสร้างความเสีย... วสท. แนะลดเสี่ยงอัคคีภัยบ้าน-อาคาร ก่อนเที่ยววันหยุดยาวต้อนรับปีใหม่ 2563 — ความประมาทเพียงครั้งเดียวอาจสร้างความเสียหายต่อทั้งชีวิตและทรัพย์สินอย่างประเม...

วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถั... Thailand Towards Zero แนวคิดใหม่“ลดการตายและบาดเจ็บสาหัสบนถนนเป็นศูนย์...ด้วยวิศวกรรมศาสตร์” — วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) ร่วมกับ...

ในงานวิศวกรรมแห่งชาติ 2561 เมื่อเร็วๆ นี้... เปิดเสวนา“ Master Plan สุวรรณภูมิ...เรื่องสำคัญของชาติ” — ในงานวิศวกรรมแห่งชาติ 2561 เมื่อเร็วๆ นี้ วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) จั...

บริษัท แปซิฟิกไพพ์ จำกัด (มหาชน) หรือ PAP... PAP สนับสนุนการจัดสัมมนาภูมิภาค จ.ขอนแก่น เรื่อง “เทคโนโลยีการก่อสร้างโครงสร้างเหล็ก” — บริษัท แปซิฟิกไพพ์ จำกัด (มหาชน) หรือ PAP ผู้นำด้านท่อเหล็กและโซลู...

เสริมสร้างอนาคตการพัฒนาเมืองที่น่าอยู่และ... วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยฯ จัดงาน “ก้าวไกลไปกับยุค 4.0...ผู้ตรวจสอบอาคาร รุ่นที่ 45” — เสริมสร้างอนาคตการพัฒนาเมืองที่น่าอยู่และมั่นคงปลอดภัย วิศวกรรมสถาน...