เศรษฐกิจอาเซียนจะสะดุดถ้ารัฐไม่ปรับภาคเกษตร – อ็อกแฟม

           เป้าหมายการเติบโตของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้หลังการรวมประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนจะพบอุปสรรคอย่างแน่นอนถ้าภาครัฐไม่ปรับนโยบายด้านการเกษตรให้เข้มแข็งต่อสภาวะโลกร้อนที่ทวีความรุนแรงมากขึ้นทุกวัน องค์การอ็อกแฟมกล่าวเตือนในรายงานฉบับล่าสุด
          การที่ประเทศสมาชิกอาเซียนส่วนใหญ่มีรายได้หลักจากภาคเกษตร ซึ่งเป็นภาคที่ได้รับผลกระทบจากสภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลงโดยตรงนั้น หมายความว่าแทบจะเป็นไปไม่ได้เลยที่ AEC หรือ ASEAN Economic Community จะเดินหน้าต่อไปได้โดยไม่สะดุด โดยเฉพาะหลังจากตัวเลขล่าสุดจากองค์การสหประชาชาติเผยว่าผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศของหลายๆ ประเทศสมาชิกจะลดไปถึง ภาวะโลกร้อน.ภาวะโลกร้อน เปอร์เซ็นต์โดยเฉลี่ยในปี พ.ศ. ภาวะโลกร้อน643 หรือในอีก 85 ปีข้างหน้า
          AEC เป็นเป้าหมายการรวมตัวของประเทศสมาชิกอาเซียนเพื่อเพิ่มอำนาจต่อรองกับคู่ค้า มีเป้าหมายสร้างตลาดและฐานการผลิตร่วมกัน และจะมีการเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ การลงทุน เงินทุน และแรงงานมีฝีมืออย่างเสรี โดยกำหนดให้แล้วเสร็จภายในปี พ.ศ. ภาวะโลกร้อน558 
          ในรายงานฉบับใหม่ของอ็อกแฟมที่มีชื่อว่า Harmless Harvest หรือ ภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน;การเก็บเกี่ยวที่ปลอดภัยภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อนประเทศสมาชิกอาเซียน; ได้วิเคราะห์ข้อมูลล่าสุดเกี่ยวกับภาวะโลกร้อนในภูมิภาค ปัญหาที่เกิดขึ้นและกำลังจะเกิด มูลค่าความเสียหาย ความสำเร็จของการปรับตัวต่อโลกร้อนของประเทศสมาชิกอาเซียน และความสำคัญของกองทุนโลกร้อนเพื่อการตั้งรับและปรับตัว โดยชี้ให้เห็นว่าระบบการเกษตรแบบยั่งยืนจะช่วยให้เกษตรกรมีความมั่นคงทางอาหาร และได้รับผลกระทบน้อยที่สุดได้อย่างไร
          ริซ่า เบอร์นาเบ เจ้าหน้าที่ประสานงานโครงการรณรงค์ GROW ภูมิภาคเอเชียกล่าวว่า ภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน;เกษตรยั่งยืนเป็นองค์ประกอบหลักของความสำเร็จในการรวมอาเซียน ทุกประเทศสมาชิกจำต้องแก้ไขปัญหานี้ร่วมกันเพื่อการเติบโตอย่างต่อเนื่องและยั่งยืนของเศรษฐกิจภูมิภาค เพราะรายได้หลักของภูมิภาคนี้มาจากการผลิตอาหารและการค้าภาคเกษตรภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อนประเทศสมาชิกอาเซียน;
          ปัจจุบันนี้ เกษตรกรคือผู้ที่ได้รับผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศเป็นอันดับแรก ผลการศึกษาของ S.K. Redfern และทีมวิจัย ที่นำเสนอต่อที่ประชุมองค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) และองค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (OECD) เมื่อ 3 ปีที่แล้วพบว่าปริมาณน้ำฝนที่ตกในประเทศกัมพูชา ลาว ไทย พม่า และเวียดนามลดลงกว่าปริมาณเฉลี่ยปกติในช่วง 6 ปีที่ผ่านมา ก่อให้เกิดภัยแล้งขึ้นในวงกว้าง แมลงศัตรูพืชระบาดและโรคติดต่อเพิ่มขึ้นอีกด้วย
          จากข้อมูลขององค์การสหประชาชาติ ปัจจุบันนี้ พื้นที่ปลูกข้าวของเวียดนามใน 4 จังหวัดกำลังถูกคุกคามโดยระดับน้ำทะเลที่สูงขึ้น สำหรับประเทศอินโดนีเซียที่มีประชากรหนาแน่น ผลผลิตข้าว ประเทศสมาชิกอาเซียน5 เปอร์เซ็นต์ที่เสียหายจากน้ำเค็มถือเป็นเรื่องน่าวิตกเลยทีเดียว ปัญหาการแทรกของน้ำเค็มนี้ยังเป็นปัญหาใหญ่ของชาวนาในพม่ามาหลายปีแล้วเช่นกัน
          นอกจากนี้ ผลการศึกษาของสถาบันวิจัยข้าวนานาชาติ (International Rice Research Institute) พบว่าอุณหภูมิที่สูงขึ้น ประเทศสมาชิกอาเซียน องศา ทำให้ผลผลิตข้าวลดลงถึงร้อยละ ประเทศสมาชิกอาเซียนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หนึ่งในทางแก้นี้คือเทคนิคการปลูกข้าวต้นเดียวแบบอินทรีย์ (Systems of Rice Intensification ภาวะโลกร้อนประเทศสมาชิกอาเซียนประเทศสมาชิกอาเซียน; SRI) ซึ่งเป็นการปลูกโดยใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดในสภาพแวดล้อมที่เสื่อมโทรมให้น้อยที่สุด แต่เป็นประโยชน์มากที่สุด ในช่วงเวลากว่า ประเทศสมาชิกอาเซียนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ปีที่มีการปลูกข้าวด้วยวิธีนี้พบว่าสามารถเพิ่มผลผลิตได้หลายเท่าเมื่อเทียบกับการปลูกแบบที่นิยมทั่วไป 
          ภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน;สิ่งที่อาเซียนทำได้ คือช่วยเหลือชาวนาและชาวประมงโดยการสนับสนุนนโยบาย และการผลิตที่เอื้อต่อการปรับตัวโดยต้องให้การสนับสนุนอย่างเปิดเผย จริงจัง และเต็มที่ ไม่เพียงในเชิงนโยบาย แต่ในทางปฏิบัติผ่านงบประมาณและกำลังคนด้วยภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อนประเทศสมาชิกอาเซียน; เบอร์นาเบกล่าว

          สามารถอ่านรายงานฉบับเต็มได้ที่ http://bit.ly/ประเทศสมาชิกอาเซียนIUVOdd


ข่าวประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน+ประเทศสมาชิกอาเซียนวันนี้

ประเทศไทยและประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ในมุมมองของภาคธุรกิจ

เขียนโดย ดร.สหนนท์ ตั้งเบญจสิริกุล (รองผู้อำนวยการ) และ ดร.วีระชัย วิวัฒน์ชาญกิจ (ที่ปรึกษาอาวุโส) บริษัท ดีลอยท์ ทู้ช โธมัทสุ ไชยยศ จำกัด มีบทความจำนวนมากได้นำเสนอข้อเท็จจริงและมุมมองเกี่ยวกับการเตรียมความพร้อม โอกาสและความท้าทายที่จะเกิดขึ้นกับธุรกิจในประเทศไทยและสมาชิกอาเซียนอื่นอีก 9 ประเทศ หลังการเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (เออีซี) อย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 31 ธันวาคม 2558 โดยข้อสรุปจากบทความเหล่านั้นที่คล้ายคลึงกัน คือ รัฐบาลของประเทศสมาชิกอาเซียนได้ดำเนินการนโยบายลดมาตรการกีดกันทางการค้า

ภาพข่าว: อธิบดีกรมศุลกากรร่วมการประชุม High Level Study Visit to Europe of ASEAN Customs Directors General

นายกุลิศ สมบัติศิริ อธิบดีกรมศุลกากร และคณะ ร่วมการประชุม High Level Study Visit to Europe of ASEAN Customs Directors General ซึ่งเป็นการประชุมหารือในวาระพิเศษของอธิบดีศุลกากรอาเซียน โดยมี...

TMA ดึงผู้นำสมาชิกอาเซียนขึ้นเวทีใหญ่ “ASEAN Business Forum 2015” ผนึกกำลังสร้างแวลูเชนเศรษฐกิจอาเซียน - ยกระดับขีดควาสามารถในการแข่งขันของภูมิภาค

สมาคมการจัดการธุรกิจแห่งประเทศไทย (TMA) จัดงานสัมมนา "ASEAN Business Forum 2015" ดึงความร่วมมือระหว่างผู้นำองค์กรจากประเทศสมาชิกอาเซียน ทั้งภาครัฐและเอกชน...

ภายใต้สภาพแวดล้อมของการเปลี่ยนแปลงที่ผันผ... เปิดรับสมัครแล้ว!!! หลักสูตร การบริหารทรัพยากรมนุษย์ขั้นสูง (Advance HR : Survival Beyond Tomorrow) — ภายใต้สภาพแวดล้อมของการเปลี่ยนแปลงที่ผันผวน รวดเร็ว ...

วันที่ 22 กรกฎาคม 2562 ได้มีการจัดพิธีเปิ... อพวช.ร่วมสมาคมวิทย์ฯ เปิดค่ายประกวดโครงงานวิทย์ ASPC 2019 — วันที่ 22 กรกฎาคม 2562 ได้มีการจัดพิธีเปิด "ค่ายประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์เยาวชนกลุ่มประเทศอาเซี...

สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ เดินหน้าขับเคลื่อน ก... “คุณวุฒิวิชาชีพ โอกาสในการทำงานในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” — สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ เดินหน้าขับเคลื่อน การเทียบเคียงกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ สู่ กรอบคุณวุฒิอ้างอิ...