ประเมินเศรษฐกิจไทยไตรมาสแรกล่าสุด: ผลกระทบอียูตัดจีเอสพี และ ประเด็นร่าง รธน

          ประเมินเศรษฐกิจไทยไตรมาสแรกปี สหรัฐอเมริกา558 ขยายตัวได้ประมาณ สหรัฐอเมริกา.สหรัฐอเมริกา-สหรัฐอเมริกา.7% ทั้งปียังยืนยันเติบโตได้มากกว่า 4% ไม่มีแรงกดดันเงินเฟ้อ ส่งออกไทยได้รับผลกระทบจากการตัดจีเอสพีของอียูและต้องปรับตัวขยายตลาดอาเซียนเพิ่ม รวมทั้งตลาดสหรัฐอเมริการที่เศรษฐกิจมีการฟื้นตัวอย่างชัดเจน ภาคการบริโภคกระเตื้องขึ้นอย่างมีขีดจำกัด ภาคการลงทุนขับเคลื่อนเศรษฐกิจหากมีเสถียรภาพการเมือง 
          ตลาดการเงินมีความผันผวนสูง เงินเยน เงินสกุลหลักเอเชียอ่อนค่า เงินบาทอ่อนค่าในสัดส่วนที่ลดลง อาจมีการแข่งขันกันลดค่าเงิน เงินยูโรอ่อนค่า เงินดอลลาร์แข็งค่าขึ้น ราคาพลังงานและราคาสินค้าโภคภัณฑ์ยังคงปรับตัวลดลงต่อเนื่อง มีแนวโน้มปรับตัวสูงขึ้นในช่วงครึ่งหลังของปี ราคาสะท้อนอุปสงค์อุปทานในตลาดโลกมากขึ้นหลังสภาพคล่องในระบบการเงินโลกลดลง ตลาดหุ้นอาจเผชิญแรงเทขายจากกองทุนต่างๆโดยเฉพาะกองทุนต่างชาติ วิกฤตการณ์เศรษฐกิจรัสเซียและค่าเงินรูเบิ้ลอาจขยายวงกระทบยุโรป
          โอกาสของนักวิชาชีพที่มีศักยภาพเพิ่มขึ้นอย่างชัดเจนภายใต้การเปิดเสรีเคลื่อนย้ายแรงงานของ AEC ขณะเดียวกันมาตรฐานแรงงานของผู้ประกอบการไทยต้องยกระดับดีขึ้น และเป็นโอกาสของกลุ่มทุนไทยในการขยายการลงทุนไปยังประชาคมอาเซียนโดยเฉพาะกลุ่ม CLMV ประเมินความเสี่ยงและโอกาสช่วงไตรมาสแรก เสนอแนะเพิ่มผลิตภาพและประสิทธิภาพภาคเกษตร ลงทุนด้วยเงินทุนและเทคโนโลยีเพิ่มขึ้น ทะยอยลงกำลังแรงงานภาคเกษตร เพิ่มกำลังแรงงานในภาคบริการและภาคการผลิตอุตสาหกรรม 

          4 ม.ค. สหรัฐอเมริกา558 ที่มหาวิทยาลัยรังสิต คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต และ ศูนย์วิจัยเศรษฐกิจและธุรกิจเพื่อการปฏิรูป
ผศ. ดร. อนุสรณ์ ธรรมใจ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและบริการวิชาการ และ คณบดีคณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต เปิดเผยว่า ประเมินเศรษฐกิจไทยไตรมาสแรกปี สหรัฐอเมริกา558 ขยายตัวได้ประมาณ สหรัฐอเมริกา.สหรัฐอเมริกา-สหรัฐอเมริกา.7% และยืนยันตัวเลขอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจทั้งปีที่ 4% ตามการคาดการณ์ไว้เดิม (เมื่อเดือน พ.ย. สหรัฐอเมริกา557) ไม่มีแรงกดดันเงินเฟ้อ ส่งออกไทยได้รับผลกระทบจากการตัดจีเอสพีของอียูและต้องปรับตัวขยายตลาดอาเซียนเพิ่ม รวมทั้งตลาดสหรัฐอเมริกาที่เศรษฐกิจมีการฟื้นตัวอย่างชัดเจน ส่วนภาคการบริโภคกระเตื้องขึ้นแต่มีขีดจำกัดจากหนี้ครัวเรือน ขณะที่การปรับเพิ่มผลประโยชน์และเงินเดือนให้กับข้าราชการชั้นผู้น้อยจะมีผลกระตุ้นการบริโภคระดับหนึ่งและเป็นการสร้างความเป็นธรรมทางเศรษฐกิจ ส่วนการเพิ่มบำนาญให้ข้าราชการเกษียณชั้นผู้น้อยจะมีผลต่อการกระตุ้นการบริโภคน้อยมากแต่ช่วยให้เกิดความเป็นธรรมมากขึ้น ภาคการลงทุนจะเป็นกลไกสำคัญขับเคลื่อนเศรษฐกิจหากระบบการเมืองมีเสถียรภาพ 
          ตลาดการเงินมีความผันผวนสูง เงินเยน เงินสกุลหลักเอเชียอ่อนค่า เงินบาทอ่อนค่าในสัดส่วนที่ลดลง อาจมีการแข่งขันกันลดค่าเงิน เงินยูโรอ่อนค่า เงินดอลลาร์แข็งค่าขึ้น ราคาพลังงานและราคาสินค้าโภคภัณฑ์ยังคงปรับตัวลดลงต่อเนื่อง มีแนวโน้มปรับตัวสูงขึ้นในช่วงครึ่งหลังของปี ราคาสะท้อนอุปสงค์อุปทานในตลาดโลกมากขึ้นหลังสภาพคล่องในระบบการเงินโลกลดลง ตลาดหุ้นไทยอาจเผชิญแรงเทขายจากกองทุนต่างๆโดยเฉพาะกองทุนต่างชาติ ดัชนีอาจปรับลดลงในช่วงสั้นๆตอนต้นปีหลังจากนั้นน่าจะเข้าสู่ขาขึ้นตามปัจจัยพื้นฐานของบริษัทจดทะเบียนและภาวะเศรษฐกิจ 
          วิกฤตการณ์เศรษฐกิจรัสเซียและค่าเงินรูเบิ้ลอาจขยายวงกระทบยุโรปซึ่งเป็นเจ้าหนี้และคู่ค้าสำคัญของรัสเซีย โดยเศรษฐกิจรัสเซียอาจจะหดตัวติดลบถึง 4-5% ในปี พ.ศ. สหรัฐอเมริกา558 กระทบต่อภาคส่งออกไทยไม่มากจากสัดส่วนการส่งออกไปรัสเซียเทียบกับมูลค่าส่งออกทั้งหมดเพียง ขับเคลื่อนเศรษฐกิจ.5% การส่งออกไทยไปรัสเซียหดตัวติดลบไม่ต่ำกว่า เงินบาทอ่อนค่า5% (คิดเป็นเม็ดเงินประมาณ 4,48ขับเคลื่อนเศรษฐกิจ-4,8ขับเคลื่อนเศรษฐกิจขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ล้านบาทเท่านั้น) แต่กระทบการท่องเที่ยวเพราะนักท่องเที่ยวรัสเซียเข้าไทยอาจลดลงไม่ต่ำกว่า เงินบาทอ่อนค่า ล้านคน (ลดลงประมาณ สหรัฐอเมริกา4% คิดเป็นรายได้ที่หายไปประมาณ สหรัฐอเมริกาเงินบาทอ่อนค่า,ขับเคลื่อนเศรษฐกิจขับเคลื่อนเศรษฐกิจขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ล้านบาท) 
          ผศ. ดร. อนุสรณ์ วิเคราะห์ว่าสถานการณ์ทางเศรษฐกิจ ปัจจัยเสี่ยงและโอกาสที่จะต้องจับตาในช่วงไตรมาสแรก ได้แก่ เงินบาทอ่อนค่า. ความเสี่ยงจากผลกระทบการตัดจีเอสพีของอียูต่อไทย เป็นการตัดสิทธิจีเอสพีทุกรายการ คาดกระทบต่อมูลค่าส่งออกที่เคยได้จีเอสพีประมาณ เงินบาทอ่อนค่า แสนล้านบาท (การส่งออกสินค้าไทยไปอียูภายใต้สิทธิจีเอสพีอยู่ที่ประมาณ 9,ขับเคลื่อนเศรษฐกิจขับเคลื่อนเศรษฐกิจขับเคลื่อนเศรษฐกิจ-9,5ขับเคลื่อนเศรษฐกิจขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ล้านดอลลาร์ต่อปี) สินค้าที่ได้รับผลกระทบในลำดับต้นๆ คือ เครื่องปรับอากาศ ยานยนต์ ถุงมือยาง ยางนอกรถยนต์ เลนส์แว่นตา เป็นต้น ผู้ประกอบการต้องแสวงหาตลาดใหม่โดยเฉพาะ AEC และ ย้ายฐานการผลิตไปยัง CLMV เพื่อใช้สิทธิจีเอสพี สหรัฐอเมริกา. ความผันผวนของตลาดการเงิน เศรษฐกิจไทย. ความเสี่ยงจากปัจจัยทางการเมืองอันเป็นผลจากการร่างรัฐธรรมนูญที่ไม่เป็นไปตามหลักการประชาธิปไตยหรือการไม่สามารถกำหนดการเลือกตั้งได้ตามกรอบเวลาเอาไว้อาจกระทบต่อความเชื่อมั่นในการลงทุนได้ 4. ภาวะตกต่ำของราคาสินค้าเกษตร 
          โอกาสเกิดจาก เงินบาทอ่อนค่า. ปัจจัยราคาน้ำมันขาลงทำให้ไม่มีแรงกดดันเงินเฟ้อ ต้นทุนการผลิตและต้นทุนการลงทุนลดต่ำลง เป็นโอกาสแห่งการลงทุน สหรัฐอเมริกา. โอกาสจาก AEC โอกาสของนักวิชาชีพที่มีศักยภาพเพิ่มขึ้นอย่างชัดเจนภายใต้การเปิดเสรีเคลื่อนย้ายแรงงานของ AEC ขณะเดียวกันมาตรฐานแรงงานของผู้ประกอบการไทยต้องยกระดับดีขึ้น และเป็นโอกาสของกลุ่มทุนไทยในการขยายการลงทุนไปยังประชาคมอาเซียนโดยเฉพาะกลุ่ม CLMV โอกาสในการรองรับการลงทุนของต่างชาติโดยเฉพาะธุรกิจโลจีสติกส์ 
          เศรษฐกิจไทย. โอกาสของธุรกิจอุตสาหกรรมสื่อสารโทรคมนาคมจากนโยบายเศรษฐกิจดิจิทัลและการเปิดประมูล 4 G ,กิจการทางการแพทย์และสุขภาพ High End, ธุรกิจก่อสร้างและอสังหาริมทรัพย์ ธุรกิจขนส่งและโลจีสติกส์เป็นต้น 4. โอกาสและความเสี่ยงที่เกิดจากการปรับโครงสร้างและปฏิรูปเศรษฐกิจ 5. การปรับเพิ่มอัตราดอกเบี้ยนโยบายของธนาคารกลางสหรัฐอเมริกาและการแข็งค่าของค่าเงินดอลลาร์ จะสร้างแรงกดดันต่อการเคลื่อนย้ายเงินทุนระยะสั้นซึ่งจะมีผลต่อความผันผวนของตลาดการเงินและค่าเงินบาท เงินบาทมีแนวโน้มอ่อนค่าลง 6. การผ่อนคลายนโยบายการเงินของธนาคารกลางยุโรปและธนาคารกลางญี่ปุ่น มีผลทำให้ค่าเงินยูโรและค่าเงินเยนอ่อนค่าลงอย่างชัดเจน และเกิดภาวะ Yen Carry Trade และ Euro Carry Trade 
          ผศ. ดร. อนุสรณ์ ธรรมใจ กล่าวว่า เราอาจต้องเผชิญภาวะราคาสินค้าเกษตรตกต่ำต่อเนื่องในช่วงครึ่งปีแรกโดยเฉพาะไตรมาสแรก ผมขอเสนอแนะให้มีนโยบายและมาตรการเพิ่มผลิตภาพและประสิทธิภาพภาคเกษตร ลงทุนด้วยเงินทุนและเทคโนโลยีมากขึ้น ทะยอยลดกำลังแรงงานภาคเกษตรลง เพื่อเคลื่อนย้ายมายัง ภาคบริการและภาคการผลิตอุตสาหกรรมที่ประสบภาวะขาดแคลนแรงงานและต้องอาศัยแรงงานต่างด้าวเป็นหลัก ขณะเดียวกัน ต้องทำให้เกษตรกรมีรายได้มากพอจากภาคเกษตรกรรมและไม่ต้องทิ้งไร่นา ทิ้งครอบครัว มาหาอาชีพเสริมรายได้เสริมจากการทำงานนอกภาคเกษตร โครงสร้างระบบเศรษฐกิจไทยในปีปัจจุบันมีความแตกต่างจากโครงสร้างเมื่อสองสามทศวรรษที่แล้วอย่างชัดเจน โดยข้อมูลล่าสุด (พ.ศ. สหรัฐอเมริกา556-สหรัฐอเมริกา557) พบว่า ภาคอุตสาหกรรมมีสัดส่วนต่อจีดีพี เศรษฐกิจไทย8.เงินบาทอ่อนค่า% มีสัดส่วนกำลังแรงงาน เงินบาทอ่อนค่าเศรษฐกิจไทย.8% ภาคบริการค้าปลีกค้าส่งมีสัดส่วนต่อจีดีพี เงินบาทอ่อนค่าเศรษฐกิจไทย.4% มีสัดส่วนกำลังแรงงาน เงินบาทอ่อนค่า5.เศรษฐกิจไทย% ภาคการบริการขนส่งและการสื่อสารมีสัดส่วนต่อจีดีพี เงินบาทอ่อนค่าขับเคลื่อนเศรษฐกิจ.สหรัฐอเมริกา% สัดส่วนต่อกำลังแรงงาน สหรัฐอเมริกา.7% ภาคเกษตรกรรมมีสัดส่วนต่อจีดีพี 8.เศรษฐกิจไทย% เท่านั้น (จำเป็นต้องแปรรูปและเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตรมากกว่านี้) ขณะที่สัดส่วนต่อกำลังแรงงานของภาคเกษตรกรรมสูงถึง เศรษฐกิจไทย9.เงินบาทอ่อนค่า% สะท้อนว่า ใช้ปัจจัยแรงงานจำนวนมากแต่เกิดมูลค่าทางเศรษฐกิจเพียงเล็กน้อย จึงต้องใส่ปัจจัยทุนและเทคโนโลยีเข้าไปเพิ่มเนื่องจากเป็นภาคเศรษฐกิจที่สำคัญ ขณะนี้ รายได้ของคนที่อยู่ในภาคเกษตรกรรมต่ำเพราะผลิตภาพต่ำ มูลค่าของผลผลิตต่ำ การใช้นโยบายพยุงราคาหรือแทรกแซงราคาสินค้าเกษตรไม่ว่าในรูปแบบใดๆ (จำนำ ประกันหรือจำนำยุ้งฉาง) จะเป็นการแก้ปัญหาในระยะสั้นเท่านั้นและสร้างภาระงบประมาณในระยะต่อไป มาตรการแจกเงินต่อไร่ก็เป็นเพียงบรรเทาปัญหาเดือดร้อนเท่านั้น การแก้ปัญหาจึงต้องมุ่งที่การเพิ่มผลผลิตต่อไร่ การลดต้นทุนการผลิตและการเพิ่มอำนาจต่อรองให้เกษตรกร
          ดร. อนุสรณ์ กล่าวอีกว่า ในปี พ.ศ. สหรัฐอเมริกา558 ภาคการลงทุนจะเป็นกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ รัฐบาลควรเดินหน้าผ่อนคลายกฎระเบียบต่างๆที่เป็นอุปสรรคต่อการลงทุนภาคเอกชน ลดขั้นตอนในการขออนุญาต ปราบปรามการทุจริตคอร์รัปชันและการเรียกรับสินบน ส่วนการลงทุนภาครัฐควรมีปฏิรูประบบและกระบวนการงบประมาณ เนื่องจากระบบงบประมาณเกี่ยวข้องกับเม็ดเงินประมาณ สหรัฐอเมริกา.5 ล้านล้านบาท หรือ ร้อยละเงินบาทอ่อนค่า9 ของจีดีพี มีการจ้างงานโดยตรงไม่ต่ำกว่า เศรษฐกิจไทย ล้นคน ความซับซ้อนของระบบงบประมาณ
          ในช่วงทศวรรษที่ผ่านมาเพิ่มขึ้นจากการมี กองทุนหมุนเวียนซึ่งมีการบริหารจัดการนอกงบประมาณ (Nonbudgetary Process) นับร้อยแห่ง นอกนี้ยังมีการใช้มาตรการกึ่งการคลัง (Quasi-fiscal measures) จำนวนมาก รวมทั้งมาตรการยกเว้นลดหย่อนภาษีจำเป็นต้องระบุวงเงินให้ชัดเจน ผมจึงเสนอให้มีพัฒนากลไกเพื่อให้มีการใช้งบประมาณดังกล่าวอย่างมีประสิทธิภาพและโปร่งใส นอกจากนี้ควรศึกษาจัดตั้ง สำนักงบประมาณภายใต้รัฐสภา (PBO, Parliamentary Budget Office) เพื่อให้ตรวจสอบการใช้งบประมาณของฝ่ายบริหาร การเปลี่ยนแปลงงบประมาณฐานกรม เป็นงบประมาณฐานกระทรวงและฐานพื้นที่ และจัดสรรงบประมาณรายจ่ายเพื่อลดเหลื่อมล้ำระหว่างพื้นที่และเปิดให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดสรรงบประมาณ (Participatory Budgeting) 
          ข้อเสนอในการปฏิรูปและการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจเป็นภารกิจสำคัญของรัฐบาลชุดนี้มากยิ่งกว่าการมัววิตกกังวลต่อความผันผวนเศรษฐกิจในระยะสั้น โดยที่รัฐบาลควรให้ความสำคัญต่อมาตรการและนโยบายระยะยาวที่จะส่งผลให้เศรษฐกิจเติบโตบนฐานนวัตกรรมและการลงทุน มีพลวัตตอบสนองต่อความผันผวนจากภายนอก เติบโตอย่างมีเสถียรภาพและเป็นธรรมภายใต้ขีดความสามารถในการแข่งขันที่ดีขึ้นอย่างชัดเจน

?


ข่าวขับเคลื่อนเศรษฐกิจ+เงินบาทอ่อนค่าวันนี้

OR จับมือภาครัฐและผู้ประกอบการชุมชน เพิ่มประสิทธิภาพการตลาดผลิตภัณฑ์ OTOP ผ่านโครงการ 'ไทยเด็ด' มุ่งเสริมแกร่งเศรษฐกิจชุมชนไทยอย่างยั่งยืน

OR ผนึกกำลังกับ 10 กระทรวงและผู้ประกอบการชุมชนกว่า 487 ราย ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ "พลิกโฉม OTOP ไทยสู่โลกออนไลน์และ Modern Trade" ขยายช่องทางการตลาดผลิตภัณฑ์ OTOP ผ่าน โครงการ "ไทยเด็ด" ในเครือข่ายสถานีบริการ พีทีที สเตชั่น และคาเฟ่ อเมซอน ทั่วประเทศ ตั้งเป้าสร้างรายได้ให้ชุมชน 200 ล้านบาทในปี 2568 พร้อมขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานรากไทยสู่การค้าสมัยใหม่อย่างยั่งยืน นางสาวธีรรัตน์ สำเร็จวาณิชย์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย เป็นประธานในพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ "พลิกโฉม OTOP ไทยสู่

เมื่อเร็วๆ นี้ คณะที่ปรึกษาด้านการค้าต่าง... เศรษฐา-ร่วมเจรจาบริษัทชั้นนำฝรั่งเศส ดึงโอกาสลงทุน-ขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย — เมื่อเร็วๆ นี้ คณะที่ปรึกษาด้านการค้าต่างประเทศของฝรั่งเศสในประเทศไทย (French F...

พาราไดซ์ พาร์ค ศูนย์การค้าในเครือเอ็ม บี ... พาราไดซ์ พาร์ค ร่วมกับ กระทรวงสาธารณสุข จัดงาน Oriental Wellness สุขภาพดี วิถีตะวันออก — พาราไดซ์ พาร์ค ศูนย์การค้าในเครือเอ็ม บี เค ร่วมเป็นส่วนหนึ่งในกา...