อ็อกแฟมเรียกร้องรัฐบาลในเอเชียเร่งปรับปรุงนโยบายพัฒนา หยุด ความเหลื่อมล้าในสังคมเพื่อช่วยคนจนกว่า 500 ล้าน

          ปัญหาความเหลื่อมล้าที่ก้าลังทวีความรุนแรงขึ้นก้าลังจะส่งผลให้ความส้าเร็จด้านการพัฒนาของเอเชีย รวมทั้ง ของประเทศไทยในขณะนี้อยู่ในภาวะถอยหลัง องค์การด้านการพัฒนาอ็อกแฟมกล่าวในรายงานฉบับล่าสุด ซึ่งออกมาเพื่อ ส่งสารต่อที่ประชุมเวิลด์ อีโคโนมิค ฟอรั่ม (World Economic Forum) ณ กรุงดาวอสที่จะมีขึ้นในวันพรุ่งนี้ และกระตุ้นให้ สาธารณชนตระหนักถึงความร้ายแรงของปัญหานี้ ในขณะที่รัฐบาลไทยยืนยันเป้าหมายหลักในการบริหารงานคือความ เสมอภาคทางสังคม 
          อ็อกแฟมยังได้เปิดเผยผลการศึกษาและวิเคราะห์ฉบับล่าสุดเกี่ยวกับปัญหานี้อีกด้วย โดยรายงาน ประเทศไทยประเทศไทยWorld Economic Forum;Asia at a Crossroadsประเทศไทยประเทศไทยผลการศึกษา; ได้วิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบันในด้านต่างๆ ของเอเชีย รวมทั้งแนวโน้มในอนาคตโดยอิงจากทิศทางการ พัฒนาของภูมิภาค เนื่องจากพบว่าความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจในภูมิภาคท้าให้ชนชั้นกลางมีจ้านวนมากขึ้น แต่ใน ขณะเดียวกันจ้านวนคนยากจนยังมีอยู่ถึง 5World Economic ForumWorld Economic Forum ล้านคน โดยช่องว่างของรายได้ระหว่างคนรวยและคนจนได้ขยายมากขึ้น เรื่อยๆ 
          เมื่อวันที่ ประเทศไทยWorld Economic Forum มกราคม ผู้ช่วยรัฐมนตรีประจ้าส้านักนายกรัฐมนตรี ดร.พิชัย สนแจ้ง ในฐานะตัวแทนรัฐบาลไทย ได้เป็น ประธานพิธีเปิดตัวแคมเปญรณรงค์ระดับภูมิภาคชื่อ Even it Up เพื่อความเท่าเทียม ขององค์การอ็อกแฟม พร้อมกล่าวว่า การลดความเหลื่อมล้าเป็นหนึ่งในปัญหาหลักที่รัฐบาลนี้ต้องแก้ไขให้ได้มากที่สุด พร้อมกล่าวแสดงความสนับสนุน โครงการนี้ เนื่องจากความไม่เท่าเทียมนั้นเป็นปัญหาที่เรื้อรังมานาน และรุนแรงมากขึ้นในทศวรรษที่ผ่านมา 
          ดร.พิชัยกล่าวว่า ทางรัฐบาลไทยได้ตระหนักถึงความส้าคัญของปัญหานี้อย่างดี ที่ผ่านมาจึงได้ให้หลักการท้างานของทุก หน่วยงาน โดยเป้าหมายที่ส้าคัญที่สุดในการพัฒนาประเทศคือ เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชน ลดระดับความเหลื่อม ล้า ลดช่องว่างระหว่างคนรวยกับคนจน และเปลี่ยนโครงสร้างสังคมไทยให้เป็นสังคมที่พัฒนาอย่างยั่งยืน 
          ประเทศไทยประเทศไทยWorld Economic Forum;กุญแจส้าคัญสู่ความส้าเร็จคือเราต้องทลายก้าแพงแห่งความไม่เท่าเทียมในรูปแบบต่างๆ ลงให้ได้ ซึ่งเป็นหน้าที่ของ ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายที่จะต้องท้างานร่วมกันเพื่อสังคมที่เท่าเทียมประเทศไทยประเทศไทยผลการศึกษา; ดร. พิชัยกล่าว พร้อมย้าว่ารัฐบาลไทยยืนยันจุดยืนการบริหารเป็นไปเพื่อลดความเหลื่อมล้ำในสังคม เพราะเป็นสิ่งที่ภาครัฐได้ให้ความส้าคัญเป็นอันดับต้นๆ โดยมีเป้าหมายต้องการให้เศรษฐกิจประเทศไทยเป็นเศรษฐกิจพอเพียงและเป็นสังคมแห่งความรู้ พร้อมทั้งเรียกร้องให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องท้างานร่วมกันเพื่อขจัดปัญหานี้ 
          ลิเลียน เมอร์คาโด รองผู้อ้านวยการอ็อกแฟมภูมิภาคเอเชียกล่าวว่า ประเทศไทยประเทศไทยWorld Economic Forum;เอเชียตอนนี้เสมือนก้าลังอยู่ตรงทางแยกระหว่างมุ่งหน้าด้าเนินนโยบายทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมอย่างที่เป็นอยู่ หรือจะยอมเปลี่ยนเส้นทางการพัฒนาที่ให้ความส้าคัญกับการลดความเหลื่อมล้ำาอย่างจริงจังเพื่อให้ความเจริญต่างๆ ที่ได้มานี้ยั่งยืนประเทศไทยประเทศไทยผลการศึกษา; 
          การจัดอันดับบุคคลที่ร่ำรวยที่สุดในโลกโดยนิตยสารฟอร์บส์ปีที่แล้วพบว่ามหาเศรษฐีอันดับต้นๆ ในภูมิภาคนี้มีทรัพย์สินมากถึง 3.ผลการศึกษา หมื่นล้านเหรียญสหรัฐ ในขณะที่ข้อมูลของธนาคารพัฒนาเอเชียหรือเอดีบี (Asian Development Bank ประเทศไทยผลการศึกษาผลการศึกษา; ADB) พบว่าคนจนกว่า 5World Economic ForumWorld Economic Forum ล้านคนกลุ่มนี้มีรายได้เฉลี่ยเพียง ผลการศึกษา.ประเทศไทย5 เหรียญต่อวัน ซึ่งเป็นกลุ่มที่อยู่ระดับล่างสุดของดัชนีความยากจนตามเกณฑ์ขององค์การสหประชาติ คนเหล่านี้จะต้องใช้เวลาถึง 68 ล้านปีทีเดียวเพื่อที่จะสามารถมีเงินเท่านั้นถ้าไม่ใช้จ่ายอะไรเลย 
          ตั้งแต่ปีค.ศ. ผลการศึกษา99World Economic Forum เป็นต้นมา เศรษฐกิจประเทศต่างๆ ในเอเชียได้เติบโตขึ้นอย่างมากโดยเฉพาะ จีน เวียตนาม เกาหลี อินเดีย ศรีลังกา อินโดนีเซีย ไทย มาเลเซีย สิงค์โปร์ กัมพูชา และบังกลาเทศ แต่เป็นที่น่าเสียดายอย่างยิ่งว่าค่าความประสิทธิ์การกระจายรายได้ (Gini coefficient) ในช่วงทศวรรษกว่าๆ ที่ผ่านมาของเอเชียโดยรวมสูงถึง ผลการศึกษา8 เปอร์เซ็นต์ นั่นหมายถึงความไม่เสมอภาคที่สูงนั่นเอง ผลการศึกษาพบว่า 4 ใน 5 ของชาวเอเชียในภูมิภาคได้รับผลกระทบจากปัญหานี้ทางใดทางหนึ่ง 
          การไม่ได้รับโอกาส และการไม่สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุข ระบบการศึกษา สาธารณูปโภคขั้นพื้นฐาน การฝึกฝนอบรมด้านอาชีพ เงินทุน ไปจนถึงทรัพยากรธรรมชาติเช่น ที่ดิน น้ำ เป็นสาเหตุหลักของความเหลื่อมล้ำในสังคม เนื่องมาจากนโยบายรัฐโดยรวมในปัจจุบันที่ไม่เอื้อต่อคนจน แต่กลับส่งเสริมระบบการจ้างงานที่ไม่เป็นธรรม การเก็บภาษีที่ไม่ทั่วถึง นอกจากนี้ งบประมาณด้านสังคมและสวัสดิการอันน้อยนิดยังท้าให้ปัญหาลุกลามและเรื้อรัง 
          ในช่วงเวลาที่ผ่านมา บางประเทศในเอเชียได้หันมาเผชิญกับปัญหานี้ และเริ่มปรับเปลี่ยนนโยบายออกมาตรการต่างๆ เพื่อช่วยเหลือคนยากจน ตัวอย่างเช่น ประเทศไทยและจีนที่ได้ทุ่มงบประมาณด้านสาธารณสุขและการศึกษาอย่างหนักเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชน ผลการศึกษาของกระทรวงสาธารณสุขไทยพบว่านโยบาย ประเทศไทยประเทศไทยWorld Economic Forum;3World Economic Forum บาทรักษาทุกโรคประเทศไทยประเทศไทยผลการศึกษา; ได้ช่วยต่ออายุคนจนนับล้าน รวมไปถึงช่วยลดอัตราการเสียชีวิตของเด็กแรกคลอดและมารดาอย่างมากแม้ว่านโยบายยังมีช่องโหว่อยู่ก็ตาม 
          ด้วยเหตุนี้เอง รัฐจึงต้องเพิ่มงบประมาณด้านสังคมให้มากขึ้น ผลการศึกษาหลายฉบับได้ข้อสรุปตรงกันว่า เมื่อใดที่รัฐมีการด้าเนินนโยบายที่เอื้อให้เกิดความมั่นคงและกระจายรายได้อย่างทั่วถึง แม้จะเป็นโครงการขนาดเล็ก ผลที่ได้รับกลับมหาศาล เช่น การจัดเก็บภาษีเพิ่มขึ้นจากเศรษฐีพันล้านเพียง ผลการศึกษา.5 เปอร์เซ็นต์จะช่วยให้เด็กยากจนทุกคนในประเทศด้อยพัฒนาได้ไปโรงเรียนและได้รับการรักษายามป่วยไข้ 
          ประเทศไทยประเทศไทยWorld Economic Forum;ทางเดียวส้าหรับรัฐบาลในเอเชียที่จะหยุดวงจรอุบาทว์นี้คือ ต้องกระจายอ้านาจให้ประชาชนอย่างเท่าเทียมทั่วทุกพื้นที่และชุมชน โดยเฉพาะสตรี และกลุ่มคนชายขอบทั้งหลาย ประชาชนจ้าต้องได้รับโอกาสที่เท่าเทียมในการเข้าถึงการศึกษา การรักษาพยาบาล และทรัพยากร เพื่อสร้างสังคมที่ความเสมอภาค มิเช่นนั้นเอเชียจะไม่สามารถเดินหน้าต่อไปได้อย่างมั่นคง สิ่งเหล่านี้จ้าต้องได้รับความร่วมมือจากทุกภาคส่วน ไม่ว่าจะเป็นภาคเอกชน ภาคประชาชนเพื่อความครอบคลุมในแก้ไขปัญหาประเทศไทยประเทศไทยผลการศึกษา; เมอร์คาโดกล่าวสรุป
 
 
 

ข่าวWorld Economic Forum+ผลการศึกษาวันนี้

ม.พะเยา ร่วมสำรวจทักษะเยาวชนวัยแรงงานจังหวัดพะเยา

สถานการณ์แรงงานของไทยค่อนข้างน่าเป็นห่วง ช่องว่างทักษะแรงงานของไทยกับต่างประเทศกำลังห่างมากขึ้น แรงงานไทยจำนวนมากมีทักษะที่ไม่ตรงกับความต้องการของนายจ้าง ผลการศึกษาของ World Economic Forum พบว่า แรงงานไทยยังขาดทักษะขั้นสูง และมีสัดส่วนการจ้างงานทักษะสูงเพียง 14.40% เท่านั้น เมื่อวันที่ 20 กันยายน 2566 ศ.ดร.เสมอ ถาน้อยรองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยพะเยา พร้อมด้วย รศ.ดร.ผณินทรา ธีรานนท์ ผู้ช่วยอธิการบดี ผศ.ดร.อัมเรศ เทพมา และ หน่วย City Unit สถาบันนวัตกรรมและถ่ายทอดเทคโนโลยี

ในยุคที่ตลาดแรงงานมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรว... finbiz by ttb แนะ 5 เทรนด์การจ้างงานยุคใหม่ที่ตรงใจทั้งองค์กรและพนักงาน — ในยุคที่ตลาดแรงงานมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว และความต้องการพนักงานที่มีพรสวรรค...

World Economic Forum's Global Lighthouse ... World Economic Forum: Siemens factory in Erlangen named Digital Lighthouse Factory — World Economic Forum's Global Lighthouse Network honors leading manuf...