กระทรวงวิทย์ฯ เอาใจ SMEs จัดงานจับคู่ร่วมมือนักวิจัยภาครัฐ Talent Mobility Fair 2015

          ̶กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี;ดร.พิเชฐ̶กระทรวงวิทย์ฯ; เดินหน้าตั้งศูนย์อำนวยความสะดวกทั่วทุกภูมิภาครวบรวมฐานข้อมูลนักวิจัยภาครัฐมากที่สุดในประเทศกว่า 3กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี,กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คน จัดงานใหญ่ เชิญ SMEs จับคู่ความร่วมมือกับนักวิจัยภาครัฐ และมหาวิทยาลัยต่อยอดผลงานจากหิ้งสู่ห้าง พร้อมโชว์โครงการที่ประสบความสำเร็จจากการจับคู่ความร่วมมือและโครงการที่มาจากการนำผลงานวิจัยไปต่อยอดเพื่อแก้ปัญหากว่า 2กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โครงการ เช่น การพัฒนานำโปรตีนจากรังไหมซึ่งมีฤทธิ์ในการยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย นำมาพัฒนาเป็นน้ำยาบ้วนปาก หรือ ครีมบำรุงผิวที่สามารถยับยั้งเชื้อแบคทีเรียได้ การพัฒนาระบบฟาร์มอัจฉริยะด้วยการพัฒนาระบบฐานข้อมูลออนไลน์ในการควบคุมดูแลสุขภาพสัตว์ เป็นต้น
          เมื่อเร็วๆนี้ที่ โรงแรมอมารี วอเตอร์เกท/ ดร.พิเชฐ ดุรงคเวโรจน์ รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นประธานเปิดงาน Talent Mobility Fair 2กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกระทรวงวิทย์ฯ5 โดยมีผู้แทนจากภาคเอกชนทั้งจากบริษัทใหญ่และเอสเอ็มอี เข้าร่วมเสวนา นอกจากนี้ภายในงานยังมีการจัดนิทรรศการบทเรียนและความสำเร็จ รวมทั้งจัดกิจกรรมจับคู่นักวิจัยภาครัฐกับภาคเอกชน พร้อมเปิดตัวศูนย์อำนวยความสะดวกในการจับคู่ความร่วมมือ TM Clearing House ทุกภูมิภาค รวมข้อมูลนักวิจัยภาครัฐกว่า 3กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี,กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คน
          ดร.พิเชฐ กล่าวว่า หลังจากที่คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบ นโยบายส่งเสริมบุคลากรด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม (วทน.) จากมหาวิทยาลัยและสถาบันวิจัยภาครัฐ ไปปฏิบัติงานเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในภาคเอกชน (Talent Mobility) ซึ่งเป็นการปลดล็อกให้นักวิจัยและนักเรียนทุนมาทำงานในภาคเอกชนแบบเต็มเวลาโดยสามารถนับอายุงานและการใช้ทุนได้ อีกทั้งยังสามารถนำผลการปฏิบัติงานในภาคเอกชนในการขอตำแหน่งทางวิชาการ ตามเกณฑ์การตกลงจากต้นสังกัด นั้น กระทรวงวิทย์ฯ ได้เดินหน้าขับเคลื่อนนโยบาย Talent Mobility โดยมอบหมายให้ สำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.) นำร่องจัดตั้งศูนย์อำนวยความสะดวกTalent Mobility หรือ Talent Mobility Clearing House เพื่อจับคู่ความร่วมมือนักวิจัยภาครัฐกับสถานประกอบการในภาคอุตสาหกรรม พร้อมทั้งจัดทำฐานข้อมูลนักวิจัยภาครัฐกว่า 3กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี,กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คน ซึ่งมากที่สุดในประเทศ เพื่ออำนวยความสะดวกให้ SMEs ในการจับคู่ความร่วมมือกับนักวิจัยภาครัฐสาขาต่างๆได้ ปัจจุบัน สวทน. ได้ขยาย TM Clearing House ไป ในมหาวิทยาลัย 4 แห่ง ครอบคลุมไปทุกภูมิภาค ได้แก่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยขอนแก่น และมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และเตรียมเพิ่มจำนวนหน่วยงานพันธมิตรไปสู่มหาวิทยาลัยและหน่วยงานของรัฐ รวมทั้งสิ้น กระทรวงวิทย์ฯ2 แห่งภายในปีนี้
          ดร.พิเชฐ กล่าวต่อว่า จากโครงการนำร่องที่ สวทน.ได้ดำเนินการมาระยะหนึ่ง มีความก้าวหน้าเป็นอย่างมาก เห็นได้จากจำนวนนักวิจัยภาครัฐที่เคลื่อนย้ายไปในสถานประกอบการเกือบ กระทรวงวิทย์ฯกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คน ที่เข้าไปจับคู่ความร่วมมือใน 4 บริษัทขนาดใหญ่ และอีก 28 SMEs และยังมีบริษัทที่ให้ความสนใจในโครงการ Talent Mobility ที่ยังอยู่ในระหว่างการจับคู่ความร่วมมืออีกเกือบ กระทรวงวิทย์ฯ5กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โครงการ โดยมีสถานประกอบการภาคเอกชนที่ได้เข้าโครงการจับคู่ความร่วมมือ Talent Mobility และโครงการที่มาจากการนำผลงานวิจัยไปต่อยอดเพื่อแก้ปัญหาด้านการผลิต การบริการ และการตลาด ซึ่งประสบความสำเร็จเป็นอย่างมาก อาทิ
          การนำงานวิจัยมาต่อยอดเป็นผลิตภัณฑ์จากโครงการรับคู่ความร่วมมือ Talent Mobility อีกหนึ่งงานคือ การพัฒนาสารสกัดจากรังไหมหม่อนสีเหลือง โดยบริษัท เพียรกุศล จำกัด ร่วมกับ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ในการวิจัยและพัฒนานำโปรตีนจากรังไหมซึ่งเป็นวัตถุดิบที่มีมากในท้องถิ่นภาคเหนือ มาศึกษาหาประโยชน์และพบว่าโปรตีนจากรังไหมสามารถมีฤทธิ์ในการยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย ได้เป็นอย่างดี จึงมีโครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ต้นแบบด้านเวชสำอาง เช่น น้ำยาบ้วนปาก หรือ ครีมบำรุงผิวที่สามารถยับยั้งเชื้อแบคทีเรียได้ เป็นต้น
          โครงการจัดการฟาร์มไขไก่มาตรฐาน โดยบริษัท สยามภาคินฟาร์ม จำกัดที่ ได้จับคู่ความร่วมมือกับ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ในการส่งนักวิจัย และนักศึกษา เข้าไปพัฒนาระบบฐานข้อมูลแบบออนไลน์ในการควบคุมดูแลสุขภาพสัตว์ การจัดการควบคุมการใช้ยารักษาโรคภายในฟาร์มซึ่งจะลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมจากปริมาณยาตกค้างและการดื้อยา การประมวลผลจัดทำรายงานการซื้อขาย ตารางการปฏิบัติงาน ข้อมูลรายรับ รายจ่าย ได้อีกด้วย ระบบดังกล่าวยังสามารถรองรับการทำงานในโทรศัพท์เคลื่อนที่และแท็ปเล็ต ซึ่งอำนวยความสะดวกอย่างมากต่อเจ้าของฟาร์มสัตวแพทย์ และการจัดการบัญชี เป็นต้นและในอนาคตงานวิจัยนี้กำลังได้รับการพัฒนาให้เป็นระบบฟาร์มอัจฉริยะอีกด้วย
          อีกหนึ่งตัวอย่างของการจับคู่นักวิจัยภาครัฐเข้าไปช่วยแก้ปัญหาในภาคการเกษตร คือโครงการ พัฒนาระบบและอุปกรณ์ตรวจวัดและความคุมสำหรับฟาร์มอัจฉริยะ ในการตรวจวัดค่าความชื้น และอุณหภูมิในดิน ของบริษัท เอพซิลอน โซลูชั่นแอนคอนซัลแทนท์ จำกัด ซึ่งได้เข้าโครงการจับคู่ความร่วมมือ กับ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง นำนักวิจัยด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ในการจัดทำระบบต้นแบบการวัดและควบคุมฟาร์มอัตโนมัติ เข้าไปแก้ปัญหาด้านทางการเกษตรและรับมือกับการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศและการบริหารทรัพยากรน้ำแก่เกษตรกร
          การพัฒนาผลิตภัณฑ์ในท้องถิ่นภาคใต้จากมังคุด จากความร่วมมือของบริษัทเอเชีย แปซิฟิก ควอลิตี้ เทรด และอุทยานวิทยาศาสตร์ภาคใต้มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ เป็นการศึกษาประโยชน์จากน้ำหมักจากมังคุดสุกซึ่งสารสำคัญจากเปลือกมังคุดมีฤทธิ์ในการต่อต้านอนุมูลอิสระ การลดผลกระทบจากการรักษามะเร็งด้วยเคมีบำบัด การลดปัจจัยเสี่ยงจากโรคเบาหวานและหลอดเลือดหัวใจ งานวิจัยที่ได้จะสามารถต่อยอดเป็นการพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปมูลค่าจากมังคุดออกสู่ตลาดในและต่างประเทศได้ นอกจากนี้ยังมีงานวิจัยด้านไอทีจากโครงการ Talent Mobility ที่ได้รับการพัฒนาต่อยอดเพื่อเพิ่มโอกาสทางการตลาดอีกหนึ่งโครงการคือ การใช้สื่อ 3 มิติ หรือ Augment Reality (AR)ในการพัฒนาแอพพลิเคชันสำหรับลูกค้าในการเลือกซื้อสินค้า เป็นความร่วมมือจับคู่โครงการของ บริษัท อี.พี.เดคอร์ และ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ซึ่งร่วมมือกันจัดทำระบบการนำเสนอสินค้าแบบ 3 มิติหรือ AR สำหรับลูกค้าในการเลือกซื้ออุปกรณ์ผ้าม่าน เป็นต้น
กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ โดย สวทน.ได้จัดงาน Talent Mobility Fair 2กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกระทรวงวิทย์ฯ5 เพื่อเป็นการเดินหน้าการสนับสนุนการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของภาคอุตสาหกรรมโดยเฉพาะ SMEs ภายในงานมีการจัดศูนย์อำนวยความสะดวกTalent Mobility หรือTM Clearing House ทุกภูมิภาค เพื่อให้สถานประกอบการสามารถยื่นความประสงค์ในการขอรับการจับคู่ความร่วมมือรับคำแนะนำจากนักวิจัยด้าน วทน. จากศูนย์อำนวยความสะดวก Talent Mobility พร้อมทั้งชมผลงานจากภาคเอกชนที่ประสบความสำเร็จจากการเข้าร่วมโครงการจับคู่ความร่วมมือ และโครงการที่มาจากการนำผลงานวิจัยไปต่อยอดเพื่อแก้ปัญหาที่เข้ามาจัดแสดงภายในงานกว่า 2กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โครงการ
สำหรับผู้ประกอบการที่พลาดโอกาสมาร่วมงานในครั้งนี้สามารถเข้าร่วมโครงการ ได้ที่ www.talentmobility.or.th • สำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ ชั้น กระทรวงวิทย์ฯ4 อาคารจัตุรัสจามจุรี ถนนพญาไท ปทุมวัน กรุงเทพฯ อีเมล์ [email protected] โทรศัพท์ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี2-กระทรวงวิทย์ฯ6กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี-5432 ต่อ 222 โทรสาร กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี2-กระทรวงวิทย์ฯ6กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี-5439

กระทรวงวิทย์ฯ เอาใจ SMEs จัดงานจับคู่ร่วมมือนักวิจัยภาครัฐ Talent Mobility Fair 2015
กระทรวงวิทย์ฯ เอาใจ SMEs จัดงานจับคู่ร่วมมือนักวิจัยภาครัฐ Talent Mobility Fair 2015
กระทรวงวิทย์ฯ เอาใจ SMEs จัดงานจับคู่ร่วมมือนักวิจัยภาครัฐ Talent Mobility Fair 2015
กระทรวงวิทย์ฯ เอาใจ SMEs จัดงานจับคู่ร่วมมือนักวิจัยภาครัฐ Talent Mobility Fair 2015
 

ข่าวกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี+วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีวันนี้

วว. ต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประเทศฟิลิปปินส์ในโอกาสศึกษาดูงานแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ด้านวิจัย/พัฒนา ณ สถานีวิจัยลำตะคอง จ.นครราชสีมา

ดร.รจนา ตั้งกุลบริบูรณ์ ผอ.ศูนย์เชี่ยวชาญนวัตกรรมเกษตรสร้างสรรค์ (ศนก.) สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) กระทรวงการอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.)นายมนตรี แก้วดวง ผอ.สถานีวิจัยลำตะคอง (สลค.) พร้อมด้วยทีมนักวิจัยและวิเทศสัมพันธ์ ร่วมให้การต้อนรับ H.E. Renato U. Solidum, Jr. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (Secretary of the Department of Science and Technology : DOST) และคณะผู้แทนจากหน่วยงานภายใต้กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ ใน

นครเฉิงตู เมืองเอกของมณฑลเสฉวนทางตะวันตกเ... นครเฉิงตูโชว์ความแข็งแกร่งทางเทคโนโลยีในงานแสดงสินค้าไฮเทค — นครเฉิงตู เมืองเอกของมณฑลเสฉวนทางตะวันตกเฉียงใต้ของจีน ได้แสดงให้เห็นถึงความแข็งแกร่งในด้านนว...

การประชุมสุดยอด ดิจิทัล ไชนา ซัมมิต (Digi... นครฝูโจว มณฑลฝูเจี้ยน จัดการประชุมสุดยอด ดิจิทัล ไชนา ซัมมิต ครั้งที่ 6 — การประชุมสุดยอด ดิจิทัล ไชนา ซัมมิต (Digital China Summit) ครั้งที่ 6 เปิดฉากขึ้...

จีนเปิดค่ายพัฒนาทักษะวัยรุ่นและเวิร์กช็อปบ่มเพาะอาจารย์วิชาวิทยาศาสตร์ ชวนทั่วโลกเข้าร่วมได้ฟรี

สมาคมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจีน กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสาธารณรัฐประชาชนจีน รัฐบาลนครฉงชิ่ง และรัฐบาลเขตปกครองตนเองกว่างซีจ้วง ได้ร่วมเป็นเจ้าภาพเปิดค่ายพัฒนาทักษะวัยรุ่นและส่ง...

รายงานโดย CRI Online การประชุมว่าด้วยความ... จีน-อาเซียน สำรวจความร่วมมือด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี — รายงานโดย CRI Online การประชุมว่าด้วยความร่วมมือด้านนวัตกรรมและการถ่ายทอดเทคโนโลยี จีน-อาเซียน ค...

การประชุมสุดยอด ดิจิทัล ไชน่า ซัมมิต ครั้... การประชุมสุดยอด ดิจิทัล ไชน่า ซัมมิต ครั้งที่ 5 จัดขึ้นที่นครฝูโจว มณฑลฝูเจี้ยน — การประชุมสุดยอด ดิจิทัล ไชน่า ซัมมิต ครั้งที่ 5 (The 5th Digital China S...