ผลการดำเนินงานของกรมศุลกากรรอบ 6 เดือน (ต.ค. 57 – มี.ค. 58) และแนวทางการดำเนินงานของกรมศุลกากรในช่วงต่อไป

          ดร.สมชัย สัจจพงษ์ อธิบดีกรมศุลกากร แถลงผลงานของกรมศุลกากรในรอบ 6 เดือน (ต.ค.57ผู้ประกอบการสมชัย สัจจพงษ์สมชัย สัจจพงษ์;มี.ค.58) ว่า ตั้งแต่ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมศุลกากร เมื่อวันที่ ผู้ประกอบการ7 มิถุนายน ผู้ประกอบการ557 คณะผู้บริหารกรมศุลกากรได้ดำเนินการปรับปรุงการทำงานของกรมศุลกากรในหลายๆด้าน อาทิ การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บภาษี การเร่งรัดแก้ไขกฎหมายต่างๆ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถทางการแข่งขันให้แก่ผู้ประกอบการและสร้างความเป็นธรรมให้มากขึ้น การพิจารณาปฏิรูปสิทธิประโยชน์ทางภาษีศุลกากรให้เกิดความรัดกุมและประโยชน์กับผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่าย รวมถึงการดำเนินการกับคดีสำคัญๆที่ยังคงค้างอยู่ให้เสร็จสิ้นภายในระยะเวลาอันสั้น นอกจากนี้ กรมศุลกากรได้ให้ความสำคัญอย่างมากกับเรื่องการแก้ปัญหาคอรัปชั่นและนำหลักธรรมาภิบาลมาบริหารราชการของกรมศุลกากรให้เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรม
สำหรับผลการดำเนินงานในรอบ 6 เดือนของปีงบประมาณ ผู้ประกอบการ558 กรมศุลกากรได้ดำเนินการในเรื่องสำคัญ ดังนี้
สมชัย สัจจพงษ์. การจัดเก็บรายได้
          - กรมศุลกากรจัดเก็บภาษีอากรรวมทุกประเภท จำนวน ผู้ประกอบการ56,595 ล้านบาท เป็นรายได้ศุลกากร มีสัดส่วนร้อยละ ผู้ประกอบการภาษีศุลกากร ของรายได้ทั้งหมด และอีกร้อยละ 77 เป็นรายได้จัดเก็บให้แก่หน่วยงานอื่นประกอบด้วย ภาษีมูลค่าเพิ่ม จำนวน สมชัย สัจจพงษ์4ผู้ประกอบการ,9ภาษีศุลกากร6 ล้านบาท ต่ำกว่าช่วงเดียวกันกับปีที่แล้วร้อยละ 8.ผู้ประกอบการ8 ภาษีสรรพสามิต จำนวน ภาษีศุลกากร6,ภาษีศุลกากร95 ล้านบาท สูงกว่าช่วงเดียวกันกับปีที่แล้ว ร้อยละ ภาษีศุลกากร.76 และภาษีเพื่อมหาดไทย จำนวน สมชัย สัจจพงษ์8,ผู้ประกอบการ77 ล้านบาท ต่ำช่วงเดียวกันกับปีที่แล้ว ร้อยละ 8 โดยจัดเก็บรายได้ศุลกากร จำนวน 58,987 ล้านบาท ต่ำกว่าประมาณการ (6สมชัย สัจจพงษ์,5อธิบดีกรมศุลกากรอธิบดีกรมศุลกากร ล้านบาท) จำนวน ผู้ประกอบการ,5สมชัย สัจจพงษ์ภาษีศุลกากร ล้านบาท หรือร้อยละ 4 แต่ยังสูงกว่าช่วงเดียวกับปีที่แล้วร้อยละ อธิบดีกรมศุลกากร.ผู้ประกอบการ8 กรมศุลกากรคาดว่าตลอดปีงบประมาณ ผู้ประกอบการ558 จะสามารถจัดเก็บรายได้ได้ประมาณ สมชัย สัจจพงษ์สมชัย สัจจพงษ์7,8ผู้ประกอบการ5 ล้านบาทต่ำกว่าเป้าหมาย (สมชัย สัจจพงษ์ผู้ประกอบการผู้ประกอบการ,4อธิบดีกรมศุลกากรอธิบดีกรมศุลกากร ล้านบาท) 4,575 ล้านบาทหรือร้อยละ ภาษีศุลกากร.7ภาษีศุลกากร
          - สาเหตุการจัดเก็บรายได้กรมศุลกากรต่ำกว่าเป้าหมายมาจาก ผู้ประกอบการ สาเหตุ คือ สภาพเศรษฐกิจและการนำเข้าที่ไม่ดีเท่ากับที่ได้ประมาณการไว้เมื่อตอนจัดทำประมาณการรายได้ และส่วนสูญเสียจากการปรับโครงสร้างอัตราอากรขาเข้าตามประกาศกระทรวงการคลัง ฉบับที่ สมชัย สัจจพงษ์สมชัย สัจจพงษ์ ซึ่งมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ ภาษีศุลกากรอธิบดีกรมศุลกากร ธันวาคม ผู้ประกอบการ557 ส่งผลกระทบต่ออัตราภาษีศุลกากรลดลง ทำให้คาดว่าการจัดเก็บรายได้จะหายไปในปีงบประมาณ ผู้ประกอบการ558 จำนวน 4,575 ล้านบาท อย่างไรก็ตามกรมศุลกากรได้พยายามเพิ่มมาตรการในการจัดเก็บรายได้เพื่อชดเชยส่วนที่ขาดไป โดยได้ดำเนินการในเรื่องต่างๆ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดเก็บภาษี อาทิ การเพิ่มมาตรการในการตรวจปล่อยสินค้าที่มีความเสี่ยงสูงต่อการหลีกเลี่ยงอากร การบริหารจัดการระบบงานคดี การจำหน่ายของกลาง/ของตกค้าง และ การตรวจสอบการเสียภาษีอากรให้ผู้ประกอบการด้วยวิธีสมัครใจ เป็นต้น

ผู้ประกอบการ. การดำเนินการกับกรณีรถยนต์นำเข้าสำเร็จรูปสูญหาย
          - กรมศุลกากรได้ดำเนินการสำรวจจำนวนรถยนต์นำเข้าสำเร็จรูปที่จัดเก็บอยู่ในคลังสินค้าทัณฑ์/ เขตปลอดอากร/เขตประกอบการค้าเสรี (นิคมอุตสาหกรรม) พบว่ามีรถสูญหายจากสถานที่จัดเก็บดังกล่าวจำนวนรวมทั้งสิ้น ผู้ประกอบการผู้ประกอบการ7 คัน โดยพบว่าส่วนใหญ่ (จำนวน ๑๗๘ คัน) มีการยื่นใบขนสินค้าและชำระค่าภาษีอากรไว้แล้ว อีกส่วนเจ้าหน้าที่ศุลกากรได้ติดตามจับกุมมาได้แล้ว ๘ คัน และที่เหลืออีก ๔๑ คัน อยู่ระหว่างติดตามจับกุม โดยกรมศุลกากรได้มีการดำเนินการตามระเบียบและกฎหมายกับผู้เกี่ยวข้องทั้ง ภาษีศุลกากร ส่วน ได้แก่ ผู้นำเข้า เจ้าหน้าที่ศุลกากร และเจ้าของคลังสินค้าทัณฑ์บน/เขตปลอดอากร/เขตประกอบการค้าเสรี แล้ว
          - เพื่อเป็นการป้องกันมิให้เกิดปัญหารถยนต์หายจากคลังสินค้าฯอีก กรมศุลกากรเห็นควรให้กำหนดมาตรการป้องกันควบคุมการนำเข้ารถยนต์สำเร็จรูป ตั้งแต่ ต้นน้ำ-กลางน้ำ-ปลายน้ำ โดยได้เพิ่มความรัดกุม ในการควบคุมทางศุลกากร พร้อมกับได้นำระบบเทคโนโลยีสำหรับติดตามความเคลื่อนของรถยนต์ที่เรียกว่า e-Lock มาใช้เพิ่มประสิทธิภาพการควบคุมอีกด้วย
3. การจ่ายค่าตอบแทนชาวบ้านสำหรับที่ดินเพื่อสร้างด่านศุลกากรสะเดาแห่งที่ 2
          - คณะรัฐมนตรีมีมติเมื่อวันที่ 20 มกราคม พุทธศักราช 2558 เห็นชอบหลักเกณฑ์และวงเงินการจ่ายชดเชยเพื่อเยียวยาให้แก่ราษฎรผู้ได้รับผลกระทบ ในพื้นที่โครงการก่อสร้างด่านศุลกากรสะเดาแห่งใหม่ ในวงเงิน 758,413,317 บาท (เจ็ดร้อยห้าสิบแปดล้านสี่แสนหนึ่งหมื่นสามพันสามร้อยสิบเจ็ดบาท) และอนุมัติหลักการให้ใช้เงินงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พุทธศักราช 255๗ งบกลาง รายการเงินสำรองจ่าย เพื่อกรณีฉุกเฉินหรือจำเป็น เพื่อแก้ไขปัญหาการจัดหาพื้นที่ดำเนินโครงการ เนื่องจากเป็นปีงบประมาณพุทธศักราช ๒๕๕๗ จึงจำเป็นต้องดำเนินการให้แล้วเสร็จภายในวันที่ ๓๑ มีนาคม พุทธศักราช ๒๕๕๘ ด่านศุลกากรสะเดา จึงได้จัดให้มีพิธีจ่ายเงินชดเชยและรับมอบพื้นที่จากราษฎร โครงการก่อสร้างด่านศุลกากรสะเดาแห่งใหม่ ในวันที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๕๘ โดยมี ดร.สมชัย สัจจพงษ์ อธิบดีกรมศุลกากร เป็นประธานในพิธี
4. ตำนานคดีกรมศุลกากร 
          4.1 คดีบริษัท อีซูซุ มอเตอร์ (ประเทศไทย) จำกัด
          - เจ้าหน้าที่กรมศุลกากรได้ตรวจสอบเอกสารการนำเข้าของบริษัท อีซูซุ มอเตอร์ (ประเทศไทย) จำกัดพบว่าระหว่างปี พ.ศ. 2543 – 2545 บริษัทฯ มีการนำเข้าสินค้าชุดเกียร์รถยนต์ (Transmission) ตาม ใบขนสินค้าฯ รวม 102 ฉบับจากประเทศฟิลิปปินส์ โดยขอใช้สิทธิลดอัตราอากรตามโครงการความตกลงว่าด้วยความร่วมมือทางอุตสาหกรรมอาเซียน (AICO) จากอัตราปกติร้อยละ 42 ลงเหลือร้อยละ 5 แต่ได้นำเข้าเกินกว่า สิทธิที่ได้รับเป็นเหตุให้อากรขาเข้าขาด 753,793,390 บาท ภาษีมูลค่าเพิ่มขาด 52,765,538 บาท
          - ในส่วนค่าภาษีอากรที่ขาด คณะกรรมการอุทธรณ์ตามกฎหมายกรมศุลกากร มีมติให้บริษัทฯ ต้องชำระอากรเพิ่ม โดยแบ่งเป็น 2 กรณี คือ 1) การนำเข้าเกินกว่าปริมาณที่ได้รับตามโครงการ AICO ได้รับสิทธิ ลดอัตราอากรฯ ชำระอากรอัตราร้อยละ 5 และกรณีที่ 2) กรณีการนำเข้าไม่ตรงรุ่น ให้ชำระอากรในอัตราปกติ ร้อยละ 42 เป็นเหตุให้อากรขาเข้าขาด 624,061,738 บาท ภาษีมูลค่าเพิ่มขาด 43,684,320 บาท เงินเพิ่มอากร 1,042,319,795.43 บาท เงินเพิ่มภาษีมูลค่าเพิ่ม 43,684,320 บาท เบี้ยปรับภาษีมูลค่าเพิ่ม 43,684,320 บาท ซึ่งกรมฯ ได้มีหนังสือแจ้งบริษัทฯ ทราบแล้ว
          4.2 คดีการนำเข้ารถยนต์โตโยต้า รุ่นพรีอุส 
          - เมื่อช่วงเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2555 เจ้าหน้าที่กรมศุลกากรได้ตรวจสอบการขำระอากรของบริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จำกัด ที่นำเข้าชิ้นส่วนรถยนต์จากประเทศญี่ปุ่นมาประกอบเป็นรถยนต์ Toyota รุ่น Prius ระหว่างปี พ.ศ. 2553 – 2555 ตามใบขนสินค้าจำนวน 244 ฉบับ พบว่ามีการสำแดงรายละเอียดในใบขนฯ และขอใช้สิทธิลดอัตราอากรนำเข้าไม่ต้องตามข้อเท็จจริง
          - บริษัทฯ มีความผิดโดยชำระภาษีอากรไม่ถูกต้อง เป็นความผิดในฐานสำแดงเท็จ ตามมาตรา 99 แห่ง พ.ร.บ. ศุลกากร พ.ศ. 2469 เป็นเหตุให้อากรและค่าภาษีขาด ดังนี้ อากรขาเข้า 7,605,928,511.58 บาท ภาษีสรรพสามิต 2,024,461,697.13 บาท ภาษีเพื่อมหาดไทย 216,543,087.10 บาท และภาษีมูลค่าเพิ่ม 1,822,195,541.63 บาท รวมทั้งสิ้นเป็นเงิน 11,669,128,837.44 บาท
          - กรมศุลกากรได้ทยอยออกแบบแจ้งการประเมินอากรให้บริษัทฯ มาชำระค่าภาษีอากรที่ขาดแล้ว โดยบริษัทฯได้มีการยื่นอุทธรณ์การประเมินอากรดังกล่าว ซึ่งกรมฯ ได้นำเรื่องดังกล่าวเข้าประชุมในคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์เรียบร้อยและที่ประชุมมีมติให้เรียกเก็บค่าภาษีอากรที่ขาดตามที่ตรวจพบต่อไป
กฎหมายศุลกากรที่ใช้อยู่ โดยมีหลักการและเหตุผลสำคัญ 3 ประการ คือ
          1) เพื่อให้ผู้อยู่ภายใต้บังคับกฎหมายไม่เกิดความสับสน โดยการนำกฎหมายศุลกากรทุกฉบับที่ใช้อยู่ (จำนวน 5 ฉบับ) มารวมกันเป็นฉบับเดียว และแก้ไขเพิ่มเติมเรื่องต่างๆ ให้เหมาะสมขึ้นด้วย ซึ่งขณะนี้ดำเนินการ ยกร่างเสร็จแล้ว และอยู่ระหว่างการพิจารณาของกระทรวงการคลัง
          2) การแก้ไขกฎหมายเพื่อรองรับการเคลื่อนย้ายสินค้าเสรีภายใต้การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ได้แก่ การเพิ่มเติมบทบัญญัติว่าด้วยการผ่านแดนและการถ่ายลำ เพื่อให้มีกฎหมายเพียงพอต่อ การใช้งาน และให้
5. การแก้ไขกฎหมาย
          กรมศุลกากรตระหนักดีว่า กฎหมายจะเป็นพื้นฐานในการปฏิบัติงาน จึงได้ดำเนินการแก้ไขมีความชัดเจนโดยไม่ต้องอาศัยการตีความ ตลอดจนให้มีความหมายเช่นเดียวกับมาตรฐานสากลที่ ใช้อยู่ในนานาประเทศ ขณะนี้ดำเนินการเสร็จแล้ว คือ พระราชบัญญัติศุลกากร (ฉบับที่ 21) พ.ศ. 2557
          1) การแก้ไขกฎหมายเพื่อเพิ่มขีดความสามารถและสร้างความเป็นธรรม เช่น การกำหนดระยะเวลาใน การตรวจสอบภายหลังการตรวจปล่อย (Post Audit) จะต้องดำเนินการภายในไม่เกิน 5 ปี การมีกฎหมายรองรับการตรวจของร่วมกันของเจ้าหน้าที่สองประเทศที่มีพรมแดนติดกัน ณ พื้นที่ควบคุมร่วมกัน (Common Control Area: CCA) ลดอัตรา การจ่ายเงินรางวัลลง และกำหนดเพดานสูงสุดของการจ่ายเงินลง เพิ่มมาตรการส่งเสริมการส่งออกอีกหนึ่งมาตรการ คือ การนำวัตถุดิบออกไปผ่านกระบวนการผลิตที่ต่างประเทศ (Outward Processing) แล้วนำกลับเข้ามาอีกครั้งหนึ่ง และ การยกเว้นอากรให้แก่ภาชนะบรรจุที่ใช้ซ้ำได้หลายครั้ง (Returnable Box) เป็นต้น
          6. การพัฒนาปรับปรุงงานด้านสิทธิประโยชน์ทางภาษีศุลกากร
          - กรมศุลกากรได้นำระบบ e-Tax Incentives นำร่องมาใช้กับการตรวจสอบคลังสินค้าทัณฑ์บนทั่วไป และเขตปลอดอากร ซึ่งช่วยปรับปรุงการให้บริการและการกำกับดูแลและตรวจสอบของเจ้าหน้าที่ศุลกากร และช่วยลดภาระของผู้ประกอบการในการจัดทำรายงานข้อมูลเข้า-ออก และสินค้าคงเหลืออีกด้วย 
          - กรมศุลกากรได้แต่งตั้งคณะทำงานเพื่อแก้ปัญหาการพิจารณาสูตรการผลิต เพื่อสะสางสูตร การผลิตที่มีปัญหาค้างการพิจารณา ซึ่งคณะทำงานฯ ได้พิจารณาแก้ปัญหาสูตรการผลิตที่ค้างทั้งหมดจำนวน ๕,๖๑๕ สูตร สามารถแก้ปัญหาได้แล้วจำนวน ๒,๑๘๓ สูตร อยู่ระหว่างดำเนินการต่อไป สำหรับการคืนอากรตามมาตรา ๑๙ ทวิ ในช่วง 6 เดือน ที่ผ่านมา สามารถคืนอากรได้ ๑๐,๓๒๕.๒๗ ล้านบาท เมื่อเปรียบเทียบกับช่วง ๖ เดือนก่อนหน้านี้ ซึ่งคืนอากรได้ ๕,๑๖๕.๙๐ ล้านบาท เพิ่มขึ้น ๕,๑๕๙.๓๗ ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ ๙๙.๘๗
7. การป้องกันและปราบปราม
          - ช่วง 6 เดือนแรกของปีงบประมาณ 58 กรมศุลกากรสามารถจับกุมผู้กระทำผิดกฎหมายได้จำนวน 5,649 ราย เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อน 312 คดี คิดเป็นร้อยละ 5.84 ส่วนมูลค่าการจับกุมในช่วงเดือน 6 เดือนแรกของปีงบประมาณ 58 มีมูลค่า 1649.56 ล้านบาท ต่ำกว่าช่วงเดียวกันของปีก่อน 860.82 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 34.29

แนวทางดำเนินงานในช่วงต่อไปของกรมศุลกากร
1. ปฏิญญาเขมราฐ
          - ในวันที่ 1 เมษายน 2558 ซึ่งเป็นวันข้าราชการพลเรือน ณ ด่านศุลกากรเขมราฐ จังหวัดอุบลราชธานี คณะผู้บริหารกรมศุลกากรได้ร่วมประกาศว่าตังแต่วันที่ 1 เมษายน 2558 เป็นต้นไป ข้าราชการ พนักงานราชการ ลูกจ้างและเจ้าหน้าที่ของกรมศุลกากรทุกคนจะเลิกรับผลประโยชน์ที่มิควรรับทั้งหลาย รวมถึงจะประพฤติตนอย่างมีจริยธรรมและคุณธรรมของข้าราชการที่ดีด้วยความโปร่งใส ปลอดจากคอรัปชั่น และจาก การกระทำการทุจริตทุกประการ
          - ระยะต่อไปกรมศุลกากรจะมีการจัดตั้งคณะกรรมการขับเคลื่อนโครงการตามปฏิญญาเขมราฐ ซึ่งประกอบด้วยตัวแทนผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ทั้งจากภาครัฐและเอกชน มาช่วยผลักดันนโยบาย “ไม่รับ ไม่ให้” โดย คณะกรรมการฯ จะทำการประชุมเพื่อติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามปฏิญญาเขมราฐของด่านศุลกากร ท่า/ที่ตรวจปล่อยสินค้าต่างๆ พร้อมทั้งรับเรื่องร้องการกระทำทุจริตของเจ้าหน้าที่ศุลกากร เพื่อรายงานให้ผู้บริหารของ กรมศุลกากรทราบและดำเนินการต่อไป
          - โครงการตามปฏิญญาเขมราฐจะทำให้กรมศุลกากรมีพันธมิตรในการช่วยตรวจสอบและติดตาม ความโปร่งใสและความสุจริตของเจ้าหน้าที่ของกรมฯ อย่างใกล้ชิดมากยิ่งขึ้น และหากมีการรายงานการ ประพฤติมิชอบของเจ้าหน้าที่ฯ กรมศุลกากรจะได้ดำเนินการทางบริหารและทางวินัยอย่างเด็ดขาดต่อไป
2. การพิจารณาแก้ไขระเบียบกรมศุลกากรเพื่อกำหนดมูลค่าของติดตัวผู้โดยสารที่นำเข้ามาโดยไม่ต้องเสียอากร
          - เพื่อให้เป็นการสอดคล้องกับข้อเท็จจริง ค่าครองชีพ ค่าของเงินบาทในปัจจุบัน และกรณีศึกษาของต่างประเทศ กรมศุลกากรจะพิจารณาศึกษาความเหมาะสมในการเพิ่มเพดานมูลค่าของติดตัวผู้โดยสารที่ไม่ต้องเสียภาษี
3. การรับชำระอากรปากระวางด้วยเดบิต (Debit Payment) และบัตรเครดิต
          - กรมศุลกากรอยู่ระหว่างการดำเนินการที่เกี่ยวข้องกับการอนุญาตให้ผู้โดยสารสามารถชำระอากรปากระวางด้วยบัตรเดบิตและบัตรเครดิต เพื่อเป็นการอำนวยความสะดวกแก่ผู้โดยสารที่ต้องชำระค่าอากรปากระวางแต่มีเงินสดติดตัว ไม่เพียงพอ
          
4. การจัดทำฐานข้อมูลด้านราคา และพิกัดศุลกากร
          - กรมศุลกากรอยู่ระหว่างการพัฒนาจัดทำฐานข้อมูลด้านราคา และพิกัดศุลกากร ซึ่งจะช่วยให้การกำหนดราคาศุลกากรและพิกัดศุลกากรเป็นธรรมและเป็นมาตรฐานสากลมากยิ่งขึ้น
5. การแก้ไขปัญหาคดีไม้พะยูง
          - กรมศุลกากรจะเร่งรัดดำเนินการในส่วนที่เกี่ยวข้องเพื่อให้สามารถจัดการแก้ไขปัญหาไม้พะยูงของกลางจำนวนมากที่อยู่ในการเก็บรักษาโดยกรมศุลกากร
6. การปฏิรูปสิทธิประโยชน์ทางศุลกากรระยะที่ 2
          - พัฒนาระบบ e-Tax Incentives ให้สามารถนำมาใช้กับคลังสินค้าทัณฑ์บนประเภทโรงผลิตสินค้า และคลังสินค้าทัณฑ์บนประเภทอื่นๆ
          - พัฒนาระบบคำร้อง โอนย้ายสินค้าระหว่างคลังสินค้าทัณฑ์บนและเขตปลอดอากรให้เข้าสู่ระบบ
คอมพิวเตอร์ของกรมศุลกากร
          - ปรับปรุงระเบียบหลักเกณฑ์ของคลังสินค้าทัณฑ์บนและเขตปลอดอากร เกี่ยวกับความรับผิดชอบของผู้ขอจัดตั้ง หน้าที่ของเจ้าหน้าที่ศุลกากรผู้กำกับดูแล กำหนดระยะเวลาการเก็บรักษาของ และอื่นๆ
          - จัดหาระบบอิเล็กทรอนิกส์ มาใช้ในการคืนอากรตามมาตรา ๑๙ ทวิ
 
ส่วนสื่อสารองค์กร
สำนักบริหารกลาง กรมศุลกากร
อาคาร 1 ชั้น 1 เลขที่ 1 ถ.สุนทรโกษา
คลองเตย กรุงเทพฯ
โทร : 02-667-7335
Fax : 02-667-7332

ข่าวอธิบดีกรมศุลกากร+สมชัย สัจจพงษ์วันนี้

ภาพข่าว: ปลัดกระทรวงการคลังประชุมมอบนโยบายการทำงานแก่กรมศุลกากร

นายสมชัย สัจจพงษ์ ปลัดกระทรวงการคลัง พร้อมด้วย นายประภาศ คงเอียด รองปลัดกระทรวงการคลัง และนายสุทธิชัย สังขมณี หัวหน้าผู้ตรวจราชการกระทรวงการคลัง ร่วมการประชุมมอบนโยบายการทำงานแก่ข้าราชการและเจ้าหน้าที่กรมศุลกากร โดยมีนายกุลิศ สมบัติศิริ อธิบดีกรมศุลกากร พร้อมคณะผู้บริหาร ร่วมการประชุมรับมอบนโยบาย ณ ห้องภาสกรวงศ์ อาคาร 1 กรมศุลกากร คลองเตย เมื่อวันที่ 17 สิงหาคม

กรมศุลกากรร่วมกับธนาคารกรุงไทยเพิ่มช่องทา... "กรมศุลกากร" จับมือ "กรุงไทย" พัฒนาระบบ "Customs Trader Portal" ให้ผู้นำเข้า - ส่งออก ลงทะเบียนออนไลน์ — กรมศุลกากรร่วมกับธนาคารกรุงไทยเพิ่มช่องทางลงทะเบี...

นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ รัฐมนตรีว่าการกระท... ตรวจเยี่ยมกรมศุลกากร — นายอาคม เติมพิทยาไพสิฐ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง พร้อมด้วย นายสันติ พร้อมพัฒน์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง ตรวจเยี่ยม...

นายกฤษฎา จีนะวิจารณะ อธิบดีกรมศุลกากร กล่... ภาพข่าว: อธิบดีกรมศุลกากร กล่าวขอบคุณ WCO และแถลงผลงานด้าน Security Projects ของศุลกากรไทย — นายกฤษฎา จีนะวิจารณะ อธิบดีกรมศุลกากร กล่าวขอบคุณ WCO และแถลง...

ดร. ปิยะพร เอี่ยมฐิติวัฒน์ รองผู้อำนวยการ... ภาพข่าว: ITD จับมือ กรมศุลกากรเกาหลี ลงนาม MOU ความร่วมมือด้านวิชาการ — ดร. ปิยะพร เอี่ยมฐิติวัฒน์ รองผู้อำนวยการ (วิชาการ) สถาบันระหว่างประเทศเพื่อการค้...

นายกฤษฎา จีนะวิจารณะ อธิบดีกรมศุลกากร แถล... ภาพข่าว: กรมศุลกากรแถลงข่าวการจับกุมผู้ลักลอบนำเข้าปลาไหลยุโรปสายพันธุ์ Anguilla anguilla — นายกฤษฎา จีนะวิจารณะ อธิบดีกรมศุลกากร แถลงข่าวการจับกุมผู้ลักล...