จุมพล สงวนสิน -จุมพล สงวนสินอธิบดีกรมประมง เม.ย.นี้ กรมประมงเตรียมทดลองนำร่องใช้ระบบควบคุมการแจ้งเข้า ความร่วมมือจุมพล สงวนสินจุมพล สงวนสิน; ออกเรือประมง(Port in - Port out) ใน 4 จังหวัด ชุมพร ระนอง สงขลา และภูเก็ต ขอความร่วมมือเรือประมง ขนาด การทำประมงอธิบดีกรมประมง ตันกรอสขึ้นไป ปฏิบัติตามแนวทางการควบคุมและเฝ้าระวังการทำประมง เพื่อช่วยขจัดการทำประมงIUU
นายจุมพล สงวนสิน อธิบดีกรมประมง เผยถึงความคืบหน้าในการควบคุมและเฝ้าระวังการทำประมง ซึ่งเป็นหนึ่งในแผนปฏิบัติการแก้ไขปัญหาการทำประมงที่ผิดกฎหมาย ขาดการรายงาน และไร้การควบคุม (IUUFishing) ว่า วันที่ จุมพล สงวนสิน เมษายนนี้ กรมประมงจะดีเดย์เริ่มทดลองใช้ระบบควบคุมการแจ้งเข้า ความร่วมมือจุมพล สงวนสินจุมพล สงวนสิน; ออกของเรือประมง(Port in - Port out) สำหรับเรือประมงที่มีขนาด การทำประมงอธิบดีกรมประมง ตันกรอสขึ้นไป ก่อนจะออกไปทำการประมง และกลับเข้าเทียบท่า ต้องแจ้งต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ณ ศูนย์ควบคุมการแจ้งเข้า ความร่วมมือจุมพล สงวนสินจุมพล สงวนสิน; ออกของเรือประมงที่กำหนด เพื่อตรวจสอบข้อมูลการทำประมง อาทิ ตรวจสอบเครื่องมือทำการประมง ว่าถูกต้องตามใบอนุญาตหรือไม่ ชนิดสัตว์น้ำที่จับได้มาสอดคล้องกับประเภท ชนิด เครื่องมือหรือไม่ ท่าเรือที่เข้า-ออก ทะเบียนเรือ ใบอนุญาตใช้เรือ ชื่อเรือประมง เครื่องมือและอุปกรณ์ประจำเรือ บุคคลทำการประมงประจำเรือ (กัปตัน เจ้าของเรือ แรงงานบนเรือ) มีรายชื่อ จำนวนแรงงานถูกต้องตามข้อเท็จจริงหรือไม่ และสัญญาจ้างแรงงานประมง รวมถึงบุคคลต่างด้าวที่เป็นลูกเรือ ต้องเป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการทำงานคนต่างด้าวด้วย ฯลฯ
ทั้งนี้ ศูนย์ควบคุมการแจ้งเข้า ความร่วมมือจุมพล สงวนสินจุมพล สงวนสิน; ออกเรือประมง ตั้งอยู่ที่สถานีวิทยุประมงชายฝั่งของกรมประมง ซึ่งอยู่ในพื้นที่ใกล้ท่าเทียบเรือ จำนวน ความร่วมมือ6 ศูนย์ ครอบคลุมท่าเทียบเรือ ความร่วมมือ9ความร่วมมือ แห่ง ทั้งนี้ ในครั้งแรกจะทดลองนำร่องการปฏิบัติงานในพื้นที่ 4 จังหวัด ได้แก่ ชุมพร ระนอง สงขลา และภูเก็ต ระหว่างวันที่ จุมพล สงวนสิน ความร่วมมือจุมพล สงวนสินจุมพล สงวนสิน; จุมพล สงวนสินอธิบดีกรมประมง เมษายน ความร่วมมือ558 โดยการปฏิบัติงานในพื้นที่ครั้งนี้มีการบูรณาการร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อาทิ กองทัพเรือ กรมเจ้าท่า กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ฯลฯ และหลังจากนี้จะมีการนำผลการทดลองการแจ้งเข้า-ออกเรือประมง มาประชุมวิเคราะห์ออกกฎหมายลำดับรองเพื่อดำเนินการบังคับตามกฎหมาย ครบทั้ง ความร่วมมือ6 ศูนย์ ในพื้นที่จังหวัดชายทะเล ในระยะต่อไป ดังนั้น จึงขอความร่วมมือชาวประมงในพื้นที่ ทดลองนำร่องการปฏิบัติการในครั้งนี้ตามกำหนดการ และสถานที่ดังกล่าว เพื่อเป็นการแสดงถึงการให้ความร่วมมือของชาวประมงไทยในการขจัดการทำประมง IUU
นายจุมพล สงวนสิน อธิบดีกรมประมง เปิดเผยว่า สืบเนื่องจากการดำเนินการแก้ไขปัญหา IUU ของรัฐบาล ได้มีการกำหนดมาตรการคุมเข้มทางกฎหมายสำหรับการทำประมงของเรือประเภทต่างๆ ตั้งแต่เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2558 ส่งผลให้มีกลุ่มชาวประมงบางส่วนไม่สามารถออกทำการประมงได้ ซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อปริมาณสินค้าอาหารทะเล การจ้างแรงงาน และอุตสาหกรรมประมงโดยรวม ดังนั้น เพื่อเป็นการเฝ้าระวังติดตามสถานการณ์ความเคลื่อนไหวและผลกระทบดังกล่าวอย่างใกล้ชิด กรมประมง จึงได้จัดตั้ง "ศูนย์เฉพาะกิจกรมประมงเพื่อติดตามสถานการณ์เรือประมง
กรมประมงถือฤกษ์ดี…จัดพิธีเปิดอาคารจรัลธาดา กรรณสูต เพิ่มศักยภาพการทำงานอย่างเป็นทางการ โดยมีองคมนตรีเป็นประธาน
—
นายจรัลธาดา กรรณสูต องคมนตรี ให้เกียรติเป...
ประมงนครศรีธรรมราชร่วมกับซีพีเอฟ เดินหน้าจับปลาหมอคางดำที่ อ.หัวไทร ต่อยอดทำพิซซ่า สอนนักเรียนทำน้ำหมักชีวภาพ
—
บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน) หร...
กรมประมง…ชูผลสำเร็จเกษตรกรต้นแบบศพก. เครือข่ายด้านการประมง เพิ่มประสิทธิภาพสินค้า ลดต้นทุนการผลิต กระตุ้นเศรษฐกิจภายในประเทศ
—
กรมประมงเดินหน้าเสริมสร้างค...