ดร.นเรศ ดำรงชัย ผู้อำนวยการ ศูนย์ความเป็นเลิศด้านชีววิทยาศาสตรต์ (TCELS) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กล่าวว่า มูลค่าการตลาดของไวเทนนิ่งในระดับเอเชียแปซิฟิก จะสูงถึง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ หมื่นล้านเหรียญสหรัฐ หรือประมาณ 3กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี,กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ล้านบาท ในปีหน้า เครื่องสำอางชะลอวัยจากสารสกัดยางพารา ที่มีครีมหน้าใส เจลล้างหน้า เซรั่มบำรุงผิว ผลิตภัณฑ์บำรุงผม ซึ่งเป็นผลงานการวิจัยของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์และมหาวิทยาลัยนเรศวรนั้นสามารถเข้าไปแชร์ส่วนแบ่งการตลาดได้อย่างแน่นอน เนื่องจากเป็นนวัตกรรมใหม่ที่มีการค้นพบและนำมาผลิตเป็นเครื่องสำอางแล้ว อีกทั้งการออกสู่ตลาดก็ได้รับการตอบรับดีมาก ดังนั้น ความร่วมมือในครั้งนี้ จึงเป็นโอกาสที่จะพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางจากสารสกัดยางพาราได้อย่างครบวงจร และสามารถแข่งขันได้ในระดับนานาชาติ นอกจากนี้ ยังสามารถพัฒนาไปสู่ความร่วมมือในการพัฒนาบุคลากรด้านชีววิทยาศาสตร์ในสาขาที่ขาดแคลน การจัดทำเครือข่ายฐานข้อมูลผลิตภัณฑ์ต้นแบบ เครื่องสำอาง ยา ชีววัตถุ ตลอดจนกิจกรรมส่งเสริมผลิตภัณฑ์และบริการและพร้อมเข้าสู่ตลาดเชิงพาณิชย์ร่วมกันอีกด้วย
ผอ.TCELS กล่าวว่า สำหรับบทบาทการดำเนินการนั้น มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์โดย ศ.ดร.รพีพรรณ วิทิตสุวรรณกุล ผู้วิจัยหลักและคณะ จะร่วมกันพัฒนาสารสกัดจากน้ำยางพารา ซึ่งปัจจุบันสามารถผลิตสารสกัดได้หลากหลายชนิด ตลอดจนการวิจัยพัฒนาต่อยอดองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนางานวิจัยเทคโนโลยีชีวภาพจากน้ำยางพาราจนได้เป็นผลิตภัณฑ์สารสกัด ที่ผลิตได้จนถึงระดับกี่งอุตสาหกรรม อีกทั้งยังสามารถทดลองผลิตสูตร ตลอดจนมีบริษัทนำร่องทดลองตลาดอีกด้วย ส่วนมหาวิทยาลัยนเรศวร เป็นหน้าที่ของสถานวิจัยเครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์ธรรมชาติโดย รศ.ดร.เนติ วระนุช ผู้อำนวยการฯ และคณะ จะช่วยพัฒนาต่อยอดเข้าสู่กระบวนการผลิตสูตรตำรับ และยืนยันผลการศึกษาเพื่อทดสอบประสิทธิภาพ โดยศึกษาวิจัยในระดับคลินิกภายใต้วิธีการซึ่งได้มาตรฐาน เป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ
ดร.นเรศ กล่าวว่า สำหรับ TCELS นอกจากจะเป็นหน่วยงานกระตุ้น ขับเคลื่อน สนับสนุนงบประมาณ รวมทั้งการเสนอแนวคิดเพื่อให้เกิดการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการซึ่งเป็นโอกาสของประเทศแล้ว ยังช่วยด้านการจัดกิจกรรมส่งเสริมผลิตภัณฑ์ซึ่งเป็นต้นแบบในงานด้านชีววิทยาศาสตร์ ที่จัดให้มีขึ้นตั้งแต่ระดับท้องถิ่น ตลอดจนนำเสนอผลงาน ผลิตภัณฑ์ ในงานประชุมและแสดงนิทรรศการด้านชีววิทยาศาสตร์ระดับนานาชาติ นอกจากนี้ TCELS ยังมีบทบาทสำคัญในการขยายเครือข่ายความร่วมมืออย่างครบวงจร ได้แก่เปิดความร่วมมือทางธุรกิจ การลงทุน และการส่งเสริมทางการตลาด เพื่อให้ผลิตภัณฑ์ที่จะเกิดขึ้นตามเส้นทางการผลิตเป็นที่ประจักษ์แก่ประชาชนจำนวนมากต่อไป
ผอ.TCELS กล่าวด้วยว่า เครื่องสำอางจากสารสกัดน้ำยางพารา เป็นผลิตภัณฑ์ธรรมชาติที่ต่างประเทศแข่งขันกับเราไม่ได้ เราเป็นรายแรกและรายเดียวในขณะนี้ที่ทำได้เนื่องจากต้องใช้น้ำยางสด และประเทศไทยเองก็สามารถผลิตน้ำยางสดได้เป็นอันดับ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ของโลก จึงถือเป็นความลงตัวที่เป็นจุดแข็ง ขณะนี้ TCELS กำลังอยู่ระหว่างการประเมินมูลค่าทางเศรษฐกิจในส่วนที่นำมาสกัดเป็นเครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพอื่น ๆ เชื่อว่ามูลค่าใหม่ที่สร้างขึ้นนี้ในระยะยาวจะช่วยให้มีรายได้เข้าประเทศจำนวนมหาศาล และจะลดปัญหาราคายางพาราตกต่ำ ที่ประเทศกำลังเผชิญอยู่ในขณะนี้ อย่างไรก็ตามยอมรับว่า ขณะนี้ความสามารถในการผลิตยังอยู่ในระดับต่ำ คือผลิตได้เพียง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์% ของศักยภาพการผลิตทั้งประเทศ แต่กำลังอยู่ระหว่างการถ่ายทอดเทคโนโลยีไปสู่ภาคเอกชน และเมื่อมีการลงทุนพัฒนากระบวนการผลิตขนาดใหญ่ การผลิตก็จะทำได้มากขึ้น ส่วนการลงทุนนั้นอาจจะเป็นการร่วมทุนระหว่างภาครัฐและเอกชน หรือเป็นการลงทุนจากภาคเอกชนทั้งหมด ทั้งนี้ต้องขึ้นอยู่กับนโยบายรัฐบาลและความพร้อมของภาคเอกชนด้วย
ดร.รจนา ตั้งกุลบริบูรณ์ ผอ.ศูนย์เชี่ยวชาญนวัตกรรมเกษตรสร้างสรรค์ (ศนก.) สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.) กระทรวงการอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.)นายมนตรี แก้วดวง ผอ.สถานีวิจัยลำตะคอง (สลค.) พร้อมด้วยทีมนักวิจัยและวิเทศสัมพันธ์ ร่วมให้การต้อนรับ H.E. Renato U. Solidum, Jr. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (Secretary of the Department of Science and Technology : DOST) และคณะผู้แทนจากหน่วยงานภายใต้กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ ใน
นครเฉิงตูโชว์ความแข็งแกร่งทางเทคโนโลยีในงานแสดงสินค้าไฮเทค
—
นครเฉิงตู เมืองเอกของมณฑลเสฉวนทางตะวันตกเฉียงใต้ของจีน ได้แสดงให้เห็นถึงความแข็งแกร่งในด้านนว...
สกสว. ร่วมงาน STS Forum 2023 ณ เมืองเกียวโต ประเทศญี่ปุ่น ขับเคลื่อนเครือข่ายทางด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ระดับนานาชาติ
—
นางสาวศุภมาส อิศรภักดี รั...
วว. ต้อนรับรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาธารณรัฐประชาชนจีน ในโอกาสเยี่ยมชม ศึกษาดูงาน ด้านระบบราง
—
ดร.พัชทรา มณีสินธุ์ รองผู้ว่าการบ...
วว.ร่วมประชุมความร่วมมือของคณะทำงานร่วมระหว่างหน่วยงานไทยและจีน Thailand - China Working Group Meeting: WGM
—
H.E. Mr. Zhang Guangjun, รัฐมนตรีช่วยว่าการก...
การประชุมว่าด้วยความร่วมมือด้านนวัตกรรมและการถ่ายทอดเทคโนโลยีจีน-อาเซียน ครั้งที่ 11 จัดขึ้นที่เมืองหนานหนิง ประเทศจีน
—
รายงานโดย CRI Online ในช่วงเช้าวั...
นครฝูโจว มณฑลฝูเจี้ยน จัดการประชุมสุดยอด ดิจิทัล ไชนา ซัมมิต ครั้งที่ 6
—
การประชุมสุดยอด ดิจิทัล ไชนา ซัมมิต (Digital China Summit) ครั้งที่ 6 เปิดฉากขึ้...
จีน-อาเซียน สำรวจความร่วมมือด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
—
รายงานโดย CRI Online การประชุมว่าด้วยความร่วมมือด้านนวัตกรรมและการถ่ายทอดเทคโนโลยี จีน-อาเซียน ค...
การประชุมสุดยอด ดิจิทัล ไชน่า ซัมมิต ครั้งที่ 5 จัดขึ้นที่นครฝูโจว มณฑลฝูเจี้ยน
—
การประชุมสุดยอด ดิจิทัล ไชน่า ซัมมิต ครั้งที่ 5 (The 5th Digital China S...