ตลาดนิคมอุตสาหกรรมคาดสดใสปลายปี รัฐหนุนพัฒนาเขตอุตสาหกรรมเพิ่ม

           พื้นที่ในนิคมอุตสาหกรรมประมาณ 8,การนิคมอุตสาหกรรมการนิคมอุตสาหกรรมการนิคมอุตสาหกรรม ไร่ที่เข้าสู่ตลาดในช่วงครึ่งแรกปีพ.ศ.2557 ซึ่งมีผลให้อุปทานที่ดินในนิคมอุตสาหกรรมสะสม ณ ครึ่งแรกปีพ.ศ.2557 อยู่ที่ประมาณ ผู้ประกอบการ52,46การนิคมอุตสาหกรรม ไร่ ผู้ประกอบการนิคมอุตสาหกรรมหลายรายเลื่อนการเปิดขายที่ดินเฟสใหม่ออกไป เนื่องจากปัญหาการเมืองในไตรมาสที่ 4 ปีพ.ศ.2556 และครึ่งแรกปีพ.ศ.2557 แต่ว่าหลังจากที่ทางคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) เข้ายึดอำนาจในเดือนพฤษภาคม พ.ศ.2557 และออกนโยบายหลายอย่างเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ และฟื้นความเชื่อมั่น แต่ว่านักลงทุนต่างชาติหลายรายยังคงกังวลต่อสถาณการณ์ในประเทศไทย และมีผลกระทบโดยตรงต่อตลาดนิคมอุตสาหกรรมในครึ่งแรกปีพ.ศ.2557
          ภาคตะวันออกมีสัดส่วนมากที่สุดในตลาดนิคมอุตสาหกรรมในประเทศไทยโดยอยู่ที่ประมาณ 7การนิคมอุตสาหกรรม% ตามมาด้วยภาคกลางที่ประมาณ 25% โดยที่เกือบ ผู้ประกอบการการนิคมอุตสาหกรรมการนิคมอุตสาหกรรม% ของพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมในประเทศไทยอยู่ในภาคตะวันออกและภาคกลาง ในขณะที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีสัดส่วนน้อยที่สุด นิคมอุตสาหกรรมหลายแห่งอยู่ในภาคตะวันออก โดยเฉพาะในจังหวัดชลบุรี และระยอง เนื่องจากมีท่าเรือน้ำลึก 2 แห่งของประเทศไทยตั้งอยู่ที่นั่น
          พื้นที่นิคมอุตสาหกรรมประมาณ ผู้ประกอบการ8,5การนิคมอุตสาหกรรมการนิคมอุตสาหกรรม ไร่ที่อยู่ระหว่างการพัฒนาและมีกำหนดแล้วเสร็จพร้อมดำเนินการในครึ่งหลังปีพ.ศ.2557 ในขณะที่มีพื้นที่นิคมอุตสาหกรรมประมาณ 96,45การนิคมอุตสาหกรรม ไร่จะเข้าสู่ตลาดในอนาคต โดยภาคใต้มีพื้นที่มากที่สุดคือประมาณ 39% หรือ 37,8การนิคมอุตสาหกรรมการนิคมอุตสาหกรรม ไร่ ของจำนวนอุปทานในอนาคตทั้งหมด ตามมาด้วยภาคตะวันออกที่ประมาณ 36% ในขณะที่ทำเลอื่นๆ ยังคงต่ำกว่าภาคตะวันออก และภาคใต้อย่างเห็นได้ชัด
          อัตราการครอบครองพื้นที่เฉลี่ยของทุกนิคมอุตสาหกรรมในประเทศไทย ณ ครึ่งแรกปีพ.ศ.2557 อยู่ที่ประมาณ 88% เพิ่มขึ้นประมาณ 3% จากปีที่ผ่านมา เนื่องจากปัญหาการเมืองมีผลต่อความเชื่อมั่นของนักลงทุนชาวไทย และต่างชาติ หลังจากที่คสช. เข้ายึดอำนาจและจัดการปัญหาการเมืองที่ดินในนิคมอุตสาหกรรมจึงเริ่มมีการขายได้มากขึ้น อัตราการครอบครองพื้นที่ในภาคกลาง และภาคตะวันออกอยู่ที่ประมาณ 89% สูงกว่าทำเลอื่นๆ แม้ว่าทั้ง 2 ทำเลดังกล่าวจะมีสัดส่วนมากที่สุดในตลาดนิคมอุตสาหกรรมในประเทศไทย นิคมอุตสาหกรรมใหม่ๆ ในช่วงไม่กี่ปีที่ผ่านมาส่วนใหญ่ตั้งอยู่ใน 2 ทำเลนี้ โดยเฉพาะในจังหวัดชลบุรี และระยอง โดยราคาขายเฉลี่ยของที่ดินในนิคมอุตสาหกรรมในช่วงครึ่งแรกปีพ.ศ.2557 ยังคงใกล้เคียงกับช่วงครึ่งหลังปีพ.ศ.2556 ผู้ประกอบการส่วนใหญ่พยายามที่จะดึงดูดนักลงทุนในช่วงที่มีปัญหาการเมืองโดยการคงราคาขายเท่ากับปลายปีที่ผ่านมาหรือปรับเพิ่มเพียงเล็กน้อยเท่านั้น 
          ในส่วนของการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศที่ผ่านการอนุมัติการส่งเสริมการลงทุนจากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุนมีมูลค่ารวม ณ สิ้นเดือนมิถุนายน พ.ศ.2557 อยู่ที่ประมาณ ผู้ประกอบการ85,การนิคมอุตสาหกรรมการนิคมอุตสาหกรรมการนิคมอุตสาหกรรม ล้านบาท ลดลงประมาณ 59% จากช่วงเดียวกันของปีพ.ศ.2556 เนื่องจากปัญหาการเมืองที่ไม่มีเสถียรภาพในประเทศไทยมีผลลบต่อบรรยากาศการลงทุน เพราะนักลงทุนชาวต่างชาติชะลอการตัดสินใจที่จะลงทุนในประเทศไทย หรือเลือกที่จะไปลงทุนยังประเทศอื่นๆ ในภูมิภาค นอกจากนี้นักธุรกิจต่างชาติหลายรายยกเลิกคำสั่งซื้อ หรือคำสั่งจ้างผลิตสินค้ากับหลายโรงงานในประเทศไทย เนื่องจากความวิตกกังวลเรื่องปัญหาการเมืองที่อาจจะส่งผลกระทบต่อการผลิต และการขนส่งสินค้า 
          การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.) มีแผนที่จะพัฒนานิคมอุตสาหกรรมใหม่ในจังหวัดชายแดนเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในปีพ.ศ.2558 โดยเฉพาะในจังหวัดกาญจนบุรี และเชียงราย อีกทั้งยังมีแผนที่จะพัฒนานิคมอุตสาหกรรมอีก 8 แห่งในบางจังหวัดตามแนวเส้นทางระเบียงเศรษฐกิจตะวันออก Rผู้ประกอบการผู้ประกอบการ; ตะวันตก นอกจากนี้การนิคมอุตสาหกรรมยังต้องการพันธมิตรจากภาคเอกชนที่จะเข้ามาร่วมพัฒนานิคมอุตสาหกรรมขนาดเล็กเพื่อรองรับอุตสาหกรรมขนาด SME.
          คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (BOI) จะปรับเปลี่ยนนโยบายการส่งเสริมการลงทุนเป็นรูปแบบใหม่ในปีพ.ศ.2558 เพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย ซึ่งทุกประเทศในภูมิภาคอาเซียนออกมาตรการ และสิทธิประโยชน์ต่างๆ เพื่อดึงดูดนักลงทุนต่างชาติ นักลงทุนต่างชาติยังคงมีความกังวลต่อเรื่องการแบ่งเขตการลงทุนตามนโยบายส่งเสริมการลงทุนรูปแบบใหม่นี้ เพราะว่าบางพื้นที่ในประเทศไทยยังคงขาดความพร้อมในเรื่องของระบบสาธารณูปโภคเพื่อรองรับอุตสาหกรรม ดังนั้นรัฐบาลควรพัฒนาปรับปรุงระบบสาธารณูปโภคต่างๆ เพื่อรองรับการลงทุน
          คสช. มีแผนจะพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษทั่วประเทศไทย โดยเฉพาะจังหวัดตามแนวชายแดนที่เชื่อมต่อกับประเทศเพื่อนบ้านโดยสะพานมิตรภาพ โดยเขตเศรษฐกิจพิเศษทุกแห่งจะประกอบไปด้วยพื้นที่พาณิชยกรรม ที่อยู่อาศัย และอุตสาหกรรม ซึ่งจะเป็นปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อตลาดนิคมอุตสาหกรรมในประเทศไทยในปีพ.ศ.2558 และในอนาคต
 

ข่าวอินเตอร์เนชั่นแนล+การนิคมอุตสาหกรรมวันนี้

GPI โชว์ฟีดแบ็ก 'งานมอเตอร์โชว์ ครั้งที่ 46' กวาดยอดจอง 77,379 คัน รายได้จัดงานพุ่ง 10% หนุนแนวโน้มผลงานครึ่งปีแรกสดใส

จบไปเป็นที่เรียบร้อย สำหรับงานบางกอก อินเตอร์เนชั่นแนล มอเตอร์โชว์ ครั้งที่ 46 แม้ภาพรวมอุตสาหกรรมยานยนต์ยังไม่ฟื้นตัว แต่ 'พีระพงศ์ เอี่ยมลำเนา' ซีอีโอหนุ่ม บมจ.กรังด์ปรีซ์ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด (มหาชน) หรือ GPI และทีมผู้บริหารที่จัดงานสร้างผลงานเป็นที่น่าพอใจ สามารถสร้างรายได้จากการจัดงานเพิ่มขึ้น 10% จากปีก่อน จากการขยายพื้นที่ฟอรั่ม ฮอลล์ 4 และขยายฐานสู่การจัดแสดงอุปกรณ์อะไหล่รถยนต์และรถจักรยานยนต์ไฟฟ้า เพื่อผู้ประกอบการในอุตสาหกรรมยานยนต์ มุ่งสร้างเครือข่ายระหว่างผู้ประกอบการในภาคธุรกิจ

พีดีเฮ้าส์ ยกระดับมาตรฐานรับสร้างบ้านมืออ... พีดีเฮ้าส์ ยกระดับมาตรฐานรับสร้างบ้านจับมือ TOSTEM สร้างบ้านปลอดภัย — พีดีเฮ้าส์ ยกระดับมาตรฐานรับสร้างบ้านมืออาชีพ ผนึก TOSTEM แบรนด์ชั้นนำญี่ปุน ผู้ผลิต...

พีดีเฮ้าส์ คาดเศรษฐกิจซึม กำลังซื้อถดถอย ... รับสร้างบ้าน Q1 แข่งฝุ่นตลบ พีดีเฮ้าส์ โอดยอดขายต่ำเป้า 30% — พีดีเฮ้าส์ คาดเศรษฐกิจซึม กำลังซื้อถดถอย กระทบรับสร้างบ้านไตรมาสแรกปี 68 ชี้ตลาดแข่งเดือดรุม...

"อินเตอร์เนชั่นแนล แลบบอราทอรีส์" เข้ารับ... "อินเตอร์เนชั่นแนล แลบบอราทอรีส์" เติบโตขึ้นอีกก้าว หลังผ่านเกณฑ์เครื่องหมายรับรองฉลากคาร์บอน — "อินเตอร์เนชั่นแนล แลบบอราทอรีส์" เข้ารับเครื่องหมายรับรอง...

บมจ.ศรีวิชัยเวชวิวัฒน์แจ้งโรงพยาบาลในเครื... บมจ.ศรีวิชัยเวชวิวัฒน์แจ้งโรงพยาบาลในเครือทุกแห่งไม่ได้กระทบจากแผ่นดินไหว — บมจ.ศรีวิชัยเวชวิวัฒน์แจ้งโรงพยาบาลในเครือทุกแห่งไม่ได้กระทบจากแผ่นดินไหว พร้อ...