รายการ “Stars of Science” เตรียมตัดสินชะตานักนวัตกรรมดาวรุ่งแห่งโลกอาหรับในการแข่งขันรอบสุดท้าย ถ่ายทอดสดวันเสาร์นี้ทางช่อง MBC4

          นักนวัตกรรมรุ่นใหม่ 4 คนซึ่งชนะใจผู้ชมทั่วโลกอาหรับ เตรียมท้าชิงตำแหน่งสุดยอดนักนวัตกรรมแห่งภูมิภาคในการแข่งขันรอบสุดท้ายของรายการโทรทัศน์เรียลลิตี้ควบคู่สาระบันเทิง การแข่งขันการแข่งขันมูลนิธิกาตาร์;Stars of Scienceการแข่งขันการแข่งขันเรียลลิตี้; ของมูลนิธิกาตาร์ (Qatar Foundation) โดยผู้เข้ารอบสุดท้ายซึ่งได้แก่ Thieab Al Dossary จากบาห์เรน, Sultan AlSubhi จากโอมาน, Rania Bou Jaoudeh จากเลบานอน และ Mohammed Al Housani จากกาตาร์ จะถูกตัดสินชะตาด้วยคะแนนโหวตของมหาชนและการพิจารณาอันรอบคอบของคณะกรรมการในรอบสุดท้าย ซึ่งจะถ่ายทอดสดจากสตูดิโอของ Stars of Science ในกรุงโดฮา ทางช่อง MBC4 ในวันเสาร์ที่ เรียลลิตี้5 พฤศจิกายน การแข่งขัน557 เวลา การแข่งขันมูลนิธิกาตาร์.มูลนิธิกาตาร์มูลนิธิกาตาร์ น.(KSA) หรือ เรียลลิตี้7.มูลนิธิกาตาร์มูลนิธิกาตาร์ น.(GMT)

          รับชมข่าวประชาสัมพันธ์ในรูปแบบมัลติมีเดียได้ที่ http://www.multivu.com/players/English/7การแข่งขัน76การแข่งขัน59คณะกรรมการ-stars-of-science-live-finale

          ผู้ชมจากทั่วโลกสามารถร่วมโหวตได้ด้วยการส่ง SMS หรือโทรศัพท์ไปยังหมายเลขที่กำหนดไว้สำหรับแต่ละประเทศและแต่ละเครือข่ายผู้ให้บริการ โดยในการแข่งขันสดรอบสุดท้ายนั้น ผู้เข้าแข่งขันจะได้รับการจัดอันดับตามคะแนนโหวตจากผู้ชมและการตัดสินของคณะกรรมการ สามารถดูวิธีการโหวตได้ที่ http://www.starsofscience.com/English/Vote 

          Stars of Science ซึ่งออกอากาศเป็นซีซั่นที่ 6 ได้จับนักนวัตกรรมมาประลองความสามารถกันเพื่อผลักดันแนวคิดให้เป็นจริง ผู้เข้าแข่งขัน เรียลลิตี้การแข่งขัน คนที่มีอายุระหว่าง เรียลลิตี้8-คณะกรรมการมูลนิธิกาตาร์ ปีได้เดินทางมาเก็บตัวที่กรุงโดฮา ประเทศกาตาร์ โดยมีเหล่าผู้เชี่ยวชาญด้านวิศวกรรมและการออกแบบชื่อดังระดับโลกคอยให้คำปรึกษา ณ อุทยานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกาตาร์ (QSTP) หลังจากนั้นผู้เข้าแข่งขันต้องถูกทดสอบความคิดสร้างสรรค์ ความเฉลียวฉลาด และการทำงานเป็นทีมในภารกิจอันแสนท้าทายต่างๆตลอดรายการ ผู้เข้าแข่งขันทุกคนต้องพัฒนาผลิตภัณฑ์จากแนวคิดให้เป็นสินค้า โดยมีเป้าหมายสูงสุดในการชิงเงินรางวัลเพื่อใช้สำหรับทำโปรเจคท์ของตนเอง

          หลังจากผ่านพ้นช่วงเวลาหลายเดือนของการพัฒนาผลิตภัณฑ์ การฟาดฟันเพื่อเข้ารอบ และการรับฟังฟีดแบกจากคณะกรรมการ ในที่สุดผลิตภัณฑ์ต้นแบบที่ทันสมัยที่สุดในรายการ Stars of Science ก็ได้ปรากฏโฉมสู่สายตาผู้ชม โดย Thieab Al Dossary หรือฉายา การแข่งขันการแข่งขันมูลนิธิกาตาร์;ผู้รอบรู้การแข่งขันการแข่งขันเรียลลิตี้; แสดงความหวังว่า การแข่งขันการแข่งขันมูลนิธิกาตาร์;กำไลข้อมือสื่อสารด้วยการสัมผัสการแข่งขันการแข่งขันเรียลลิตี้; (Tactile Communication Bracelet) ซึ่งยกระดับประสบการณ์มัลติมีเดียด้วยการส่งผ่านจังหวะการเต้นของชีพจรไปยังแขนของผู้สวมใส่ จะทำให้ตนเองกลายเป็นผู้ชนะคนแรกจากบาห์เรน ขณะที่ การแข่งขันการแข่งขันมูลนิธิกาตาร์;นักยุทธศาสตร์การแข่งขันการแข่งขันเรียลลิตี้; อย่าง Sultan AlSubhi ก็ท้าชิงตำแหน่งผู้ชนะคนแรกของโอมานด้วย การแข่งขันการแข่งขันมูลนิธิกาตาร์;หุ่นยนต์ทำความสะอาดวูดูการแข่งขันการแข่งขันเรียลลิตี้; (Wudu' Area Robotic Cleaner) ซึ่งจะช่วยทำความสะอาดพื้นที่ชำระล้างร่างกายของห้องละหมาดและมัสยิดโดยอัตโนมัติ

          ผู้ท้าชิงคนต่อไปคือ Rania Bou Jaoudeh จากเลบานอน เจ้าของสมญา “นักวางแผน” ซึ่งมีโอกาสลุ้นตำแหน่งผู้ชนะหญิงคนแรกของ Stars of Science ด้วยผลงาน “เครื่องคว้านเมล็ดแตงซูกินีอัตโนมัติ” (Automatic Zucchini Corer) ที่จะช่วยลดเวลาและความยุ่งยากในการเตรียมอาหารหลักของชาวอาหรับได้อย่างมหาศาล และคนสุดท้ายคือ Mohammed Al Housani หรือ “นักวิทยาศาสตร์” ซึ่งอาจได้ครองตำแหน่งผู้ชนะคนที่ 2 จากกาตาร์ ด้วยผลงาน “ระบบพลังงานแสงอาทิตย์อัจฉริยะ” (Efficient Solar Energy System) ที่สามารถแปลงพลังงานแสงอาทิตย์เป็นพลังงานไฟฟ้าได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น

          ติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่
          Taylor Bossung หรือ Hanane Rougani
          โทร. + 974 44364385

          รับชมข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่
          เว็บไซต์ - http://www.starsofscience.com
          เฟซบุ๊ก - https://www.facebook.com/StarsofScienceTV
          ทวิตเตอร์ - https://twitter.com/starsofscience
          ยูทูบ - http://www.youtube.com/user/Starsofsciencetv
          อินสตาแกรม - starsofsciencetv

          แหล่งข่าว: Qatar Foundation และ MBC4



ข่าวมูลนิธิกาตาร์+เรียลลิตี้วันนี้

Walid Albanna ศัลยแพทย์ระบบประสาทชาวปาเลสไตน์ คว้าแชมป์รายการ Stars of Science ซีซั่น 10

Walid Albanna ศัลยแพทย์ระบบประสาทชาวปาเลสไตน์วัย 35 ปี คว้าแชมป์รายการ Stars of Science ซีซั่นที่ 10 ซึ่งเป็นรายการเรียลลิตี้สาระบันเทิงที่สร้างสรรค์โดยมูลนิธิกาตาร์ เขาเป็นขวัญใจของทั้งคณะกรรมการ ผู้เข้าแข่งขันคนอื่นๆ รวมถึงผู้ชมรายการ และทำผลงานได้อย่างโดดเด่นในการแข่งขันรอบชิงชนะเลิศอันดุเดือด ณ อุทยานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกาตาร์ (QSTP) ในกรุงโดฮา ประเทศกาตาร์ รับชมข่าวในรูปแบบมัลติมีเดียได้ที่ http://www.multivu.com/players/uk/8453051-walid-albanna-triumphs-in-stars-of-science/ ก่อนการ

รายการ Stars of Science ประกาศรายชื่อนักนวัตกรรม 9 คนที่ผ่านเข้ารอบสุดท้าย

ปีนี้มีนักนวัตกรรมหญิงเข้ารอบสุดท้ายมากที่สุดเป็นประวัติการณ์ Stars of Science รายการเรียลลิตี้สาระบันเทิงเพื่อเฟ้นหานักนวัตกรรมแถวหน้าของโลกอาหรับ ซึ่งสร้างสรรค์โดยมูลนิธิกาตาร์ ได้คัดเลือกผู้เข้ารอบสุดท้ายในซีซั่นที่ 10 ...

รายการ Stars of Science ฉลองครบรอบ 10 ปีแห่งการพัฒนานวัตกรรมโลกอาหรับ

รายการทีวียอดนิยมที่สร้างสรรค์โดยมูลนิธิกาตาร์ (Qatar Foundation) เตรียมออกอากาศซีซั่นใหม่ในหลายช่องทั่วโลกอาหรับ Stars of Science รายการเรียลลิตี้สาระบันเทิงที่เฟ้นหานักนวัตกรรมแถวหน้าของโลกอาหรับ เตรียมกลับมาลงจออีกครั้ง...

การประชุมสุดยอดนวัตกรรมโลกด้านสุขภาพประกาศวันจัดงานปี 2567 และความร่วมมือเชิงกลยุทธ์กับองค์การอนามัยโลก

ผู้นำด้านสุขภาพเตรียมจัดทำรายงานว่าด้วยการคุ้มครองสุขภาพในสถานการณ์การขัดกันทางอาวุธ การประชุมสุดยอดนวัตกรรมโลกด้านสุขภาพ (WISH) ซึ่งเป็นโครงการริเริ่มของมูลนิธิกาตาร์เพื่อการศึกษา วิทยาศาสตร์ ...

"ตอนนี้เราอยู่ในรุ่งอรุณแห่งยุคใหม่ของระบบอัจฉริยะแล้ว" ผู้เชี่ยวชาญด้านเอไอระดับโลกกล่าวในการประชุมสุดยอดไวซ์ ครั้งที่ 11 ประจำปี 2566 ของมูลนิธิกาตาร์

การประชุมสุดยอดครั้งนี้เผยให้เห็นมุมมองที่หลากหลายของผู้นำทางความคิด นักนวัตกรรม และผู้สร้างความเปลี่ยนแปลงรุ่นเยาว์ที่มีต่อเอไอในด้านการศึกษา นีนา...

ชีคเคาะห์ โมซา บินท์ นัสเซอร์ แห่งกาตาร์ ทรงเปิดการประชุมสุดยอดไวซ์ ครั้งที่ 11

ซาฟีนา ฮุสเซน ได้รับยกย่องให้เป็นผู้รับรางวัลไวซ์ไพรซ์ด้านการศึกษา ประจำปี 2566 สำหรับการทำงานร่วมกับเอ็ดดูเคต เกิร์ลส์ ชีคเคาะห์ โมซา บินท์ นัสเซอร์ (Sheikha Moza bint Nasser) แห่งกาตาร์ ประธานมูลนิธิกาตาร์ (Qatar...

การประชุมไวซ์ของมูลนิธิกาตาร์มุ่งปฏิวัติการศึกษาในยุคปัญญาประดิษฐ์

การประชุมสุดยอดไวซ์ ( WISE Summit) ครั้งที่ 11 จะสำรวจความท้าทายและโอกาสของปัญญาประดิษฐ์ในด้านการศึกษา ด้วยเล็งเห็นถึงพลังการเปลี่ยนแปลงของเอไอ ตลอดจนการเข้ามาเป็นส่วนสำคัญในชีวิตประจำวันของเรา การประชุมสุดยอดไวซ์ (WISE Summit)...

ไวส์ อวอร์ดส์ เผยรายชื่อผู้คว้ารางวัลประจำปี 2565

ไวส์ (WISE) ซึ่งเป็นโครงการริเริ่มของมูลนิธิกาตาร์ (Qatar Foundation) ได้ให้การยกย่องโครงการแก้ไขปัญหาท้าทายด้านการศึกษาระดับโลกที่มีความบุกเบิกรวม 6 โครงการ โดยประเมินจากผลลัพธ์อันดีที่โครงการเหล่านี้มีต่อการศึกษาและสังคม ทั้งนี้ ผู้ชนะรางวัลไวส์...

WISE เปิดตัวคู่มือสร้างระบบนิเวศการเรียนรู้ฉบับแรก ในงานสัปดาห์เทคโนโลยีการศึกษา ณ กรุงลอนดอน

เปิดตัวคู่มือในช่วงท้ายของงานสัปดาห์เทคโนโลยีการศึกษา พร้อมจัดการเสวนาว่าด้วยเรื่องของนวัตกรรม ไวส์ (WISE) ซึ่งเป็นโครงการริเริ่มของมูลนิธิกาตาร์ (Qatar Foundation) ที่มุ่งเน้นเรื่องเทคโนโลยีการศึกษาเป็นหลัก...

ประกาศรายชื่อผู้ได้รับรางวัล Wise Awards ปี 2020

แนวคิดริเริ่มของมูลนิธิกาตาร์ยกย่องโครงการที่โดดเด่น 6 โครงการ ซึ่งออกแบบมาเพื่อพัฒนาความก้าวหน้าด้านการศึกษาทั่วโลก WISE แนวคิดริเริ่มของมูลนิธิกาตาร์ (QF) ได้ประกาศผู้รับรางวัล WISE Awards ปี 2020 เพื่อชื่นชมและสนับสนุนโครงการสร้างสรรค์ 6 ...