ผู้ที่ประสบกับสถานการณ์การสูญเสียอวัยวะที่ใช้ในการเคลื่อนไหว (ขาขาด) นอกจากจะส่งผลต่อสภาวะจิตใจ การปรับตัวเข้ากับสังคมแล้ว ยังมีข้อจำกัดในการทำกิจกรรม ที่เผชิญกับปัญหาด้านการเคลื่อนไหว และการทรงตัว อาจารย์ ดร.มนัญชยา สามาลา อาจารย์ประจำโรงเรียนกายอุปกรณ์สิรินธร คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาลมหาวิทยาลัยมหิดล ได้ชี้ให้เห็นถึงปัญหาของผู้พิการขาขาดที่มาเข้ารับบริการขาเทียม ณ โรงเรียนกายอุปกรณ์สิรินธรคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล ส่วนใหญ่กว่าจะสามารถใช้ขาเทียมในการเคลื่อนไหวได้ใกล้เคียงปกติ
ธนชาตประกันภัย ร่วมสร้างนักกายอุปกรณ์ บุคลากรทางการแพทย์เพื่อผู้พิการ
—
นายคงศักดิ์ หาญแสวงสิน ประธานเจ้าหน้าที่สายงานผลิตภัณฑ์ประกันภัย บริษัท ธนชาตประกั...
จุฬาฯ ร่วมส่งมอบกายอุปกรณ์สำหรับผู้พิการ เนื่องในโอกาสมหามงคลพระราชพิธีบรมราชาภิเษก
—
สำนักงานวิจัยแห่งชาติ จัดโครงการกายอุปกรณ์สำหรับผู้พิการเฉลิมพระเกีย...
ศิริราช เชิญร่วมบริจาคเลือดรับปีใหม่ไทย 9 - 16 เม.ย.68
—
คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ม.มหิดล ขอเชิญชวนประชาชนร่วมทำบุญรับปีใหม่ "สงกรานต์สุขใจให้เลือด" โดย...
ศิริราชมอบรางวัลแพทย์ดีเด่นในชนบท ประจำปี 2566 และ 2567 ให้แก่ นพ.มนตรี หนองคาย และ นพ.วรวุฒิ พัฒนโภครัตนา
—
คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ม.มหิดล จัดงานประก...
ศิริราชกับความสำเร็จระดับโลก ครั้งแรกในการผลิตกระดูกเบ้าสะโพกไทเทเนียมเฉพาะบุคคล
—
ศิริราชกับความสำเร็จระดับโลกครั้งแรกในการผลิตกระดูกเบ้าสะโพกไทเทเนียมเฉ...
กรุงไทยโชว์นวัตกรรม "กระเป๋าสุขภาพ" บนแอปฯเป๋าตัง ในงานประชุมวิชาการ การป้องกันการหกล้มและกระดูกหักในผู้สูงอายุไทย
—
นางวรานิช อุชชิน ผู้ช่วยกรรมการผู้จัด...
ศิริราชร่วมเฉลิมฉลอง 120 ปี ความสัมพันธ์ทางการทูตไทย-นอร์เวย์ จัดเดิน-วิ่งการกุศล สมทบทุนศิริราชมูลนิธิ
—
ศ. นพ.อภิชาติ อัศวมงคลกุล คณบดีคณะแพทยศาสตร์ศิริ...