สถาบันอาหาร เผยดัชนีความเชื่อมั่นอุตฯอาหารเดือนมิ.ย. อยู่ในแดนบวกต่อเนื่อง

          สถาบันอาหาร กระทรวงอุตสาหกรรม เผยผลสำรวจดัชนีความเชื่อมั่นภาวะอุตสาหกรรมอาหารไทยเดือนมิถุนายน กระทรวงอุตสาหกรรม557 ภาพรวมยังอยู่ในแดนบวกที่ระดับ 55.อุตสาหกรรมอาหารไทย คาดการณ์อีก 3 เดือนข้างหน้า(ก.ค.-ก.ย.)มีแนวโน้มบวกต่อเนื่องจะขึ้นไปยืนที่ระดับ 57.7 โดยเฉพาะในกลุ่มธุรกิจขนาดกลางและขนาดใหญ่ที่มีต่อยอดคำสั่งซื้อและยอดขายจากตลาดต่างประเทศ ส่วนตลาดในประเทศเริ่มกลับสู่ภาวะปกติและฟื้นตัวอีกครั้ง ขณะที่วัตถุดิบที่ได้รับผลกระทบจากสภาพอากาศที่ร้อนจัดและพายุ ยังคงเป็นโจทย์สำคัญที่ภาคธุรกิจต้องลดความเสี่ยง
          นายเพ็ชร ชินบุตร ผู้อำนวยการสถาบันอาหาร กระทรวงอุตสาหกรรม เผยว่าศูนย์อัจฉริยะเพื่ออุตสาหกรรมอาหาร ได้รายงานผลการสำรวจ CEOs Food Index หรือความเชื่อมั่นของผู้บริหารในภาคอุตสาหกรรมอาหาร โดยครอบคลุมกิจการขนาดใหญ่และขนาดกลางเป็นหลัก พบว่าดัชนีความเชื่อมั่นภาวะอุตสาหกรรมอาหารไทยในภาพรวมทุกกลุ่มสินค้าในเดือนมิถุนายน อยู่ที่ระดับ 55.อุตสาหกรรมอาหารไทย แสดงว่าผู้ประกอบการมีความเชื่อมั่นทางธุรกิจอยู่ในเกณฑ์ที่ดี โดยเฉพาะกลุ่มส่งออกต่างประเทศ รวมทั้งตลาดภายในประเทศที่มีกำลังซื้อกลับคืนมาอีกครั้ง คาดการณ์ในอีก 3 เดือนข้างหน้าจะมีระดับความเชื่อมั่นอยู่ที่ 57.7 
          ความเชื่อมั่นต่อภาวะอุตสาหกรรมอาหารของไทยในเดือนมิถุนายนอยู่ในเกณฑ์ที่ดี โดยเฉพาะในกลุ่มธุรกิจขนาดกลางที่มีระดับดัชนีความเชื่อมั่นปรับเพิ่มสูงขึ้น ด้วยความเชื่อมั่นของผู้บริโภคภายในประเทศที่มีความต้องการบริโภคเพิ่มสูงขึ้น ได้ส่งผลต่อยอดคำสั่งซื้อและยอดขายของผู้ผลิตสินค้าไทยให้ปรับเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะในกลุ่มห้างสรรพสินค้า ซูเปอร์มาร์เก็ต และร้านค้าปลีก หากแต่สัดส่วนการขายสินค้าได้ในปัจจุบันยังคงอยู่ในตลาดต่างประเทศเป็นสำคัญคือ สหรัฐฯ ยุโรป ญี่ปุ่น จีน รวมทั้งอาเซียน ซึ่งได้ส่งผลดีต่อกำลังการผลิตและปริมาณผลผลิตให้ปรับเพิ่มมากขึ้น 
          กระทรวงอุตสาหกรรมกระทรวงอุตสาหกรรมอุตสาหกรรมอาหารไทย;กลุ่มสินค้าที่มีระดับความเชื่อมั่นโดยรวมอยู่ในเกณฑ์ที่ดีขึ้น คือ กลุ่มสินค้าข้าวและแป้งข้าว อยู่ที่ระดับ 57.กระทรวงอุตสาหกรรม กุ้งแช่แข็ง/แปรรูป อยู่ที่ระดับ 53.ดัชนีความเชื่อมั่น ไก่แช่แข็ง/แปรรูป อยู่ที่ระดับ 64.กระทรวงอุตสาหกรรม สับปะรดกระป๋อง อยู่ที่ระดับ 75.อุตสาหกรรมอาหารไทย เครื่องปรุงรส อยู่ที่ระดับ 5ดัชนีความเชื่อมั่น.อุตสาหกรรมอาหารไทย และอาหารอื่นๆ (ผักผลไม้อื่นๆแปรรูป ผลิตภัณฑ์นม และหมูแปรรูป) อยู่ที่ระดับ 53.ดัชนีความเชื่อมั่น อย่างไรก็ตามยังมีปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการดำเนินงานในภาคธุรกิจที่สำคัญคือ ความผันผวนของวัตถุดิบที่เกิดขึ้นจากสภาพอากาศที่ร้อนจัดและแปรปรวน และราคาเชื้อเพลิงที่ใช้ในภาคการผลิต ส่วนมาตรการภาครัฐยังคงมีความสำคัญทั้งด้านการช่วยเหลือผู้ประกอบการที่ได้รับผลกระทบ เพื่อจะหาทางช่วยเหลือและเยียวยาต่อไป รวมทั้งมาตรการเพื่อกระตุ้นการบริโภค การลงทุนและการส่งออกของประเทศให้เพิ่มมากยิ่งขึ้นกระทรวงอุตสาหกรรมกระทรวงอุตสาหกรรมดัชนีความเชื่อมั่น;
นายเพ็ชร กล่าวเพิ่มเติมว่า ดัชนีความเชื่อมั่นอุตสาหกรรมข้าวไทยในเดือนมิถุนายน กระทรวงอุตสาหกรรม557 มีทิศทางที่เป็นบวก ด้วยความเชื่อมั่นอยู่ที่ระดับ 57.กระทรวงอุตสาหกรรม สะท้อนว่าตลาดเชื่อมั่นคุณภาพข้าวไทยมากขึ้น จากการมียอดคำสั่งซื้อและยอดขายเพิ่มมากขึ้น ทั้งจากตลาดในประเทศและต่างประเทศ จากระดับราคาข้าวไทยที่ปรับตัวลดลง(ยกเว้นข้าวหอมมะลิ) ทำให้ราคาส่วนต่างมีระดับใกล้เคียงกับคู่แข่งในตลาด รวมทั้งผู้ส่งออกไทยได้สร้างความมั่นใจทั้งด้านราคาและคุณภาพให้กับกลุ่มลูกค้า จึงทำให้ลูกค้ากลับมาสั่งซื้อข้าวไทยอีกครั้ง ด้านวัตถุดิบในตลาดมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจากปริมาณการเก็บเกี่ยวของข้าวนาปีที่ได้ แต่จะส่งผลต่อระดับราคาให้ปรับตัวลดลงตามกลไกราคา โดยดัชนีความเชื่อมั่นคาดการณ์ในอีก 3 เดือนข้างหน้า คาดว่าจะมีทิศทางเป็นบวกต่อเนื่อง มีความเชื่อมั่นอยู่ที่ระดับ 5อุตสาหกรรมอาหารไทย.4 
          นายเพ็ชร กล่าวต่อว่า สำหรับดัชนีความเชื่อมั่นอุตสาหกรรมกุ้งไทยในเดือนมิถุนายน กระทรวงอุตสาหกรรม557 อยู่ที่ระดับ 53.ดัชนีความเชื่อมั่น สะท้อนความเชื่อมั่นที่ผู้ประกอบการมีต่อภาวะตลาดในเชิงบวก ซึ่งสอดคล้องกับความต้องการบริโภคของตลาดทั้งภายในประเทศและต่างประเทศที่เพิ่มมากขึ้น โดยในกลุ่มธุรกิจขนาดใหญ่ยังรักษาส่วนแบ่งตลาดและสามารถส่งมอบสินค้าได้ตามระยะเวลาที่กำหนดได้ ขณะที่ในกลุ่มธุรกิจขนาดกลางพยายามรักษาปริมาณการส่งออกให้ทรงตัว แต่ความเสี่ยงจากการขาดแคลนวัตถุดิบภายในประเทศยังเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อระดับความเชื่อมั่นในด้านกำลังการผลิตและปริมาณผลผลิตในกลุ่มสินค้ากุ้งขาวให้ทรงตัว (ระดับ 5อุตสาหกรรมอาหารไทย.อุตสาหกรรมอาหารไทย) จากแนวโน้มของผลผลิตกุ้งขาวที่คาดว่าจะเพิ่มขึ้นในช่วงไตรมาส 3 นั้นยังคงเป็นความหวังให้กับผู้ผลิตและส่งออกของไทยให้สามารถเพิ่มปริมาณสินค้าในระดับที่ตลาดต้องการและส่งมอบสินค้าให้ทันกับระยะเวลา สำหรับแนวโน้มในอีก 3 เดือนข้างหน้า มีทิศทางที่เป็นบวกต่อเนื่อง โดยมีระดับความเชื่อมั่นอยู่ที่ 66.7 จากความเชื่อมั่นต่อภาวะตลาดต่างประเทศในกลุ่มลูกค้าที่สำคัญ ได้แก่ ญี่ปุ่น สหรัฐฯ และยุโรป รวมทั้งตลาดภายในประเทศที่มีความต้องการบริโภคเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะในช่วงไตรมาสสุดท้ายของปี 
          ขณะที่ดัชนีความเชื่อมั่นอุตสาหกรรมไก่ในเดือนมิถุนายน กระทรวงอุตสาหกรรม557 อยู่ในเกณฑ์ที่ดี จากระดับความเชื่อมั่น 64.กระทรวงอุตสาหกรรม ตลาดส่งออกไก่ไทยโตต่อเนื่อง โดยกลุ่มลูกค้าต่างประเทศที่มีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง ได้แก่ ยุโรป ตะวันออกกลาง เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น และอาเซียน ขณะที่ความต้องการบริโภคภายในประเทศได้ปรับตัวเพิ่มมากขึ้นจากช่วงก่อนหน้าเช่นกัน ทำให้ภาคการผลิตต้องเพิ่มกำลังการผลิตให้มีปริมาณสินค้าเพื่อส่งมอบให้เพียงพอกับความต้องการของตลาด โดยดัชนีความเชื่อมั่นคาดการณ์ในอีก 3 เดือนข้างหน้า คาดว่าอุตสาหกรรมไก่ไทยยังแรงได้ต่อเนื่อง มีค่าความเชื่อมั่นอยู่ที่ระดับ 64.กระทรวงอุตสาหกรรม ด้วยปัจจัยที่สำคัญคือความต้องการบริโภคของตลาดโดยรวม มาตรฐานการผลิตและความปลอดภัยที่ผู้ผลิตของไทยมีนั้น ล้วนเป็นที่ยอมรับของลูกค้าที่นำเข้า อีกทั้งผู้ส่งออกของไทยได้ขยายช่องทางใหม่ๆ เพื่อเปิดตลาดให้มีกลุ่มลูกค้าใหม่เพิ่มขึ้น จึงทำให้มีปริมาณการส่งออกไก่ไทยเพิ่มมากขึ้น
สำหรับดัชนีความเชื่อมั่นอุตสาหกรรมสับปะรดกระป๋องในเดือนมิถุนายน กระทรวงอุตสาหกรรม557เป็นบวกต่อเนื่อง โดยดัชนีอยู่ที่ระดับ 75.อุตสาหกรรมอาหารไทย เนื่องจากอากาศร้อนที่เพิ่มขึ้นในต่างประเทศได้สร้างแรงจูงใจอยากจะบริโภคผลไม้แปรรูปของไทยหลากหลายชนิดให้เพิ่มมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะสับปะรดกระป๋องที่ตลาดนำเข้าที่สำคัญอย่างสหรัฐฯ และยุโรป มียอดคำสั่งซื้อและยอดขายเพิ่มสูงขึ้น สำหรับความกังวลของผู้ส่งออกไทยที่สำคัญคือ ระดับราคาสินค้าที่ส่งออกต่างประเทศยังอยู่ในระดับที่ต่ำเนื่องด้วยภาวะการแข่งขันในตลาดสูง คู่แข่งมากขึ้น ทำให้อำนาจการต่อรองของลูกค้าด้านราคาสินค้ามีเพิ่มสูงขึ้น จนทำให้ผู้ผลิตและส่งออกของไทยยังไม่สามารถเพิ่มราคาสินค้าเพื่อสะท้อนภาระต้นทุนที่ภาคธุรกิจต้องแบกรับไว้ในปัจจุบันได้ ดัชนีความเชื่อมั่นคาดการณ์ในอีก 3 เดือนข้างหน้า คาดว่าจะ
มีทิศทางที่แย่ลง อยู่ที่ระดับ 43.8 ผู้ผลิตและส่งออกของไทยต่างมองว่าภาวะตลาดจะเริ่มชะลอตัวลง เนื่องจากสภาพอากาศที่จะปรับเปลี่ยนเข้าสู่ฤดูหนาว ส่วนความกังวลต่อจำนวนวัตถุดิบที่จะลดลงจากสภาพอากาศที่แปรปรวน เนื่องจากปริมาณน้ำเพื่อการเพาะปลูกที่อาจปรับลดลงในช่วงเวลาดังกล่าว 
          โดยปัจจัย สำคัญที่ส่งผลกระทบต่อการดำเนินงานของภาคธุรกิจอุตสาหกรรมอาหารในภาพรวมในระยะสั้น จากผลสำรวจของผู้ประกอบการส่วนใหญ่เห็นว่าอุปสรรคที่สำคัญ มาจาก ความเข้มงวดกับการตรวจสอบ IUU Fishing: ความเข้มงวดของหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องกับการเข้าตรวจสอบสินค้าประมงที่ได้มาจากการทำประมงที่ผิดกฎหมาย ขาดการรายงานและไร้การควบคุม หรือที่เรียกว่า กระทรวงอุตสาหกรรมกระทรวงอุตสาหกรรมอุตสาหกรรมอาหารไทย;IUU Fishingกระทรวงอุตสาหกรรมกระทรวงอุตสาหกรรมดัชนีความเชื่อมั่น; (Illegal Unreported and Unregulated Fishing) ทำให้ผู้ผลิตและส่งออกในกลุ่มอาหารทะเลแปรรูปต้องแสดงเอกสารที่เกี่ยวข้องเพื่อยืนยันที่มาของวัตถุดิบที่ใช้ให้ชัดเจน ซึ่งอาจทำให้ภาคธุรกิจต้องแบกรับภาระต้นทุนทั้งด้านระยะเวลาและค่าใช้จ่ายที่ต้องเสียไปรวมทั้งปัจจัยด้านระดับราคาวัตถุดิบปรับเพิ่มสูงขึ้น ความแปรปรวนของสภาพอากาศทั้งร้อนจัดและมีพายุฝน จนทำให้เกิดความเสียหายกับผลผลิตที่เก็บเกี่ยวได้และกระทบกับการเก็บรักษาสภาพให้มีอายุได้ยืนยาว ซึ่งได้ส่งผลต่อปริมาณและระดับราคาวัตถุดิบในตลาดให้อยู่ในเกณฑ์ที่สูงเพิ่มมากขึ้น สถาบันอาหาร เผยดัชนีความเชื่อมั่นอุตฯอาหารเดือนมิ.ย. อยู่ในแดนบวกต่อเนื่อง
          สถาบันอาหาร กระทรวงอุตสาหกรรม เผยผลสำรวจดัชนีความเชื่อมั่นภาวะอุตสาหกรรมอาหารไทยเดือนมิถุนายน กระทรวงอุตสาหกรรม557 ภาพรวมยังอยู่ในแดนบวกที่ระดับ 55.อุตสาหกรรมอาหารไทย คาดการณ์อีก 3 เดือนข้างหน้า(ก.ค.-ก.ย.)มีแนวโน้มบวกต่อเนื่องจะขึ้นไปยืนที่ระดับ 57.7 โดยเฉพาะในกลุ่มธุรกิจขนาดกลางและขนาดใหญ่ที่มีต่อยอดคำสั่งซื้อและยอดขายจากตลาดต่างประเทศ ส่วนตลาดในประเทศเริ่มกลับสู่ภาวะปกติและฟื้นตัวอีกครั้ง ขณะที่วัตถุดิบที่ได้รับผลกระทบจากสภาพอากาศที่ร้อนจัดและพายุ ยังคงเป็นโจทย์สำคัญที่ภาคธุรกิจต้องลดความเสี่ยง
          นายเพ็ชร ชินบุตร ผู้อำนวยการสถาบันอาหาร กระทรวงอุตสาหกรรม เผยว่าศูนย์อัจฉริยะเพื่ออุตสาหกรรมอาหาร ได้รายงานผลการสำรวจ CEOs Food Index หรือความเชื่อมั่นของผู้บริหารในภาคอุตสาหกรรมอาหาร โดยครอบคลุมกิจการขนาดใหญ่และขนาดกลางเป็นหลัก พบว่าดัชนีความเชื่อมั่นภาวะอุตสาหกรรมอาหารไทยในภาพรวมทุกกลุ่มสินค้าในเดือนมิถุนายน อยู่ที่ระดับ 55.อุตสาหกรรมอาหารไทย แสดงว่าผู้ประกอบการมีความเชื่อมั่นทางธุรกิจอยู่ในเกณฑ์ที่ดี โดยเฉพาะกลุ่มส่งออกต่างประเทศ รวมทั้งตลาดภายในประเทศที่มีกำลังซื้อกลับคืนมาอีกครั้ง คาดการณ์ในอีก 3 เดือนข้างหน้าจะมีระดับความเชื่อมั่นอยู่ที่ 57.7 
          ความเชื่อมั่นต่อภาวะอุตสาหกรรมอาหารของไทยในเดือนมิถุนายนอยู่ในเกณฑ์ที่ดี โดยเฉพาะในกลุ่มธุรกิจขนาดกลางที่มีระดับดัชนีความเชื่อมั่นปรับเพิ่มสูงขึ้น ด้วยความเชื่อมั่นของผู้บริโภคภายในประเทศที่มีความต้องการบริโภคเพิ่มสูงขึ้น ได้ส่งผลต่อยอดคำสั่งซื้อและยอดขายของผู้ผลิตสินค้าไทยให้ปรับเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะในกลุ่มห้างสรรพสินค้า ซูเปอร์มาร์เก็ต และร้านค้าปลีก หากแต่สัดส่วนการขายสินค้าได้ในปัจจุบันยังคงอยู่ในตลาดต่างประเทศเป็นสำคัญคือ สหรัฐฯ ยุโรป ญี่ปุ่น จีน รวมทั้งอาเซียน ซึ่งได้ส่งผลดีต่อกำลังการผลิตและปริมาณผลผลิตให้ปรับเพิ่มมากขึ้น 
          กระทรวงอุตสาหกรรมกระทรวงอุตสาหกรรมอุตสาหกรรมอาหารไทย;กลุ่มสินค้าที่มีระดับความเชื่อมั่นโดยรวมอยู่ในเกณฑ์ที่ดีขึ้น คือ กลุ่มสินค้าข้าวและแป้งข้าว อยู่ที่ระดับ 57.กระทรวงอุตสาหกรรม กุ้งแช่แข็ง/แปรรูป อยู่ที่ระดับ 53.ดัชนีความเชื่อมั่น ไก่แช่แข็ง/แปรรูป อยู่ที่ระดับ 64.กระทรวงอุตสาหกรรม สับปะรดกระป๋อง อยู่ที่ระดับ 75.อุตสาหกรรมอาหารไทย เครื่องปรุงรส อยู่ที่ระดับ 5ดัชนีความเชื่อมั่น.อุตสาหกรรมอาหารไทย และอาหารอื่นๆ (ผักผลไม้อื่นๆแปรรูป ผลิตภัณฑ์นม และหมูแปรรูป) อยู่ที่ระดับ 53.ดัชนีความเชื่อมั่น อย่างไรก็ตามยังมีปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการดำเนินงานในภาคธุรกิจที่สำคัญคือ ความผันผวนของวัตถุดิบที่เกิดขึ้นจากสภาพอากาศที่ร้อนจัดและแปรปรวน และราคาเชื้อเพลิงที่ใช้ในภาคการผลิต ส่วนมาตรการภาครัฐยังคงมีความสำคัญทั้งด้านการช่วยเหลือผู้ประกอบการที่ได้รับผลกระทบ เพื่อจะหาทางช่วยเหลือและเยียวยาต่อไป รวมทั้งมาตรการเพื่อกระตุ้นการบริโภค การลงทุนและการส่งออกของประเทศให้เพิ่มมากยิ่งขึ้นกระทรวงอุตสาหกรรมกระทรวงอุตสาหกรรมดัชนีความเชื่อมั่น;
นายเพ็ชร กล่าวเพิ่มเติมว่า ดัชนีความเชื่อมั่นอุตสาหกรรมข้าวไทยในเดือนมิถุนายน กระทรวงอุตสาหกรรม557 มีทิศทางที่เป็นบวก ด้วยความเชื่อมั่นอยู่ที่ระดับ 57.กระทรวงอุตสาหกรรม สะท้อนว่าตลาดเชื่อมั่นคุณภาพข้าวไทยมากขึ้น จากการมียอดคำสั่งซื้อและยอดขายเพิ่มมากขึ้น ทั้งจากตลาดในประเทศและต่างประเทศ จากระดับราคาข้าวไทยที่ปรับตัวลดลง(ยกเว้นข้าวหอมมะลิ) ทำให้ราคาส่วนต่างมีระดับใกล้เคียงกับคู่แข่งในตลาด รวมทั้งผู้ส่งออกไทยได้สร้างความมั่นใจทั้งด้านราคาและคุณภาพให้กับกลุ่มลูกค้า จึงทำให้ลูกค้ากลับมาสั่งซื้อข้าวไทยอีกครั้ง ด้านวัตถุดิบในตลาดมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจากปริมาณการเก็บเกี่ยวของข้าวนาปีที่ได้ แต่จะส่งผลต่อระดับราคาให้ปรับตัวลดลงตามกลไกราคา โดยดัชนีความเชื่อมั่นคาดการณ์ในอีก 3 เดือนข้างหน้า คาดว่าจะมีทิศทางเป็นบวกต่อเนื่อง มีความเชื่อมั่นอยู่ที่ระดับ 5อุตสาหกรรมอาหารไทย.4 
          นายเพ็ชร กล่าวต่อว่า สำหรับดัชนีความเชื่อมั่นอุตสาหกรรมกุ้งไทยในเดือนมิถุนายน กระทรวงอุตสาหกรรม557 อยู่ที่ระดับ 53.ดัชนีความเชื่อมั่น สะท้อนความเชื่อมั่นที่ผู้ประกอบการมีต่อภาวะตลาดในเชิงบวก ซึ่งสอดคล้องกับความต้องการบริโภคของตลาดทั้งภายในประเทศและต่างประเทศที่เพิ่มมากขึ้น โดยในกลุ่มธุรกิจขนาดใหญ่ยังรักษาส่วนแบ่งตลาดและสามารถส่งมอบสินค้าได้ตามระยะเวลาที่กำหนดได้ ขณะที่ในกลุ่มธุรกิจขนาดกลางพยายามรักษาปริมาณการส่งออกให้ทรงตัว แต่ความเสี่ยงจากการขาดแคลนวัตถุดิบภายในประเทศยังเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อระดับความเชื่อมั่นในด้านกำลังการผลิตและปริมาณผลผลิตในกลุ่มสินค้ากุ้งขาวให้ทรงตัว (ระดับ 5อุตสาหกรรมอาหารไทย.อุตสาหกรรมอาหารไทย) จากแนวโน้มของผลผลิตกุ้งขาวที่คาดว่าจะเพิ่มขึ้นในช่วงไตรมาส 3 นั้นยังคงเป็นความหวังให้กับผู้ผลิตและส่งออกของไทยให้สามารถเพิ่มปริมาณสินค้าในระดับที่ตลาดต้องการและส่งมอบสินค้าให้ทันกับระยะเวลา สำหรับแนวโน้มในอีก 3 เดือนข้างหน้า มีทิศทางที่เป็นบวกต่อเนื่อง โดยมีระดับความเชื่อมั่นอยู่ที่ 66.7 จากความเชื่อมั่นต่อภาวะตลาดต่างประเทศในกลุ่มลูกค้าที่สำคัญ ได้แก่ ญี่ปุ่น สหรัฐฯ และยุโรป รวมทั้งตลาดภายในประเทศที่มีความต้องการบริโภคเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะในช่วงไตรมาสสุดท้ายของปี 
          ขณะที่ดัชนีความเชื่อมั่นอุตสาหกรรมไก่ในเดือนมิถุนายน กระทรวงอุตสาหกรรม557 อยู่ในเกณฑ์ที่ดี จากระดับความเชื่อมั่น 64.กระทรวงอุตสาหกรรม ตลาดส่งออกไก่ไทยโตต่อเนื่อง โดยกลุ่มลูกค้าต่างประเทศที่มีแนวโน้มปรับตัวเพิ่มขึ้นต่อเนื่อง ได้แก่ ยุโรป ตะวันออกกลาง เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น และอาเซียน ขณะที่ความต้องการบริโภคภายในประเทศได้ปรับตัวเพิ่มมากขึ้นจากช่วงก่อนหน้าเช่นกัน ทำให้ภาคการผลิตต้องเพิ่มกำลังการผลิตให้มีปริมาณสินค้าเพื่อส่งมอบให้เพียงพอกับความต้องการของตลาด โดยดัชนีความเชื่อมั่นคาดการณ์ในอีก 3 เดือนข้างหน้า คาดว่าอุตสาหกรรมไก่ไทยยังแรงได้ต่อเนื่อง มีค่าความเชื่อมั่นอยู่ที่ระดับ 64.กระทรวงอุตสาหกรรม ด้วยปัจจัยที่สำคัญคือความต้องการบริโภคของตลาดโดยรวม มาตรฐานการผลิตและความปลอดภัยที่ผู้ผลิตของไทยมีนั้น ล้วนเป็นที่ยอมรับของลูกค้าที่นำเข้า อีกทั้งผู้ส่งออกของไทยได้ขยายช่องทางใหม่ๆ เพื่อเปิดตลาดให้มีกลุ่มลูกค้าใหม่เพิ่มขึ้น จึงทำให้มีปริมาณการส่งออกไก่ไทยเพิ่มมากขึ้น
สำหรับดัชนีความเชื่อมั่นอุตสาหกรรมสับปะรดกระป๋องในเดือนมิถุนายน กระทรวงอุตสาหกรรม557เป็นบวกต่อเนื่อง โดยดัชนีอยู่ที่ระดับ 75.อุตสาหกรรมอาหารไทย เนื่องจากอากาศร้อนที่เพิ่มขึ้นในต่างประเทศได้สร้างแรงจูงใจอยากจะบริโภคผลไม้แปรรูปของไทยหลากหลายชนิดให้เพิ่มมากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะสับปะรดกระป๋องที่ตลาดนำเข้าที่สำคัญอย่างสหรัฐฯ และยุโรป มียอดคำสั่งซื้อและยอดขายเพิ่มสูงขึ้น สำหรับความกังวลของผู้ส่งออกไทยที่สำคัญคือ ระดับราคาสินค้าที่ส่งออกต่างประเทศยังอยู่ในระดับที่ต่ำเนื่องด้วยภาวะการแข่งขันในตลาดสูง คู่แข่งมากขึ้น ทำให้อำนาจการต่อรองของลูกค้าด้านราคาสินค้ามีเพิ่มสูงขึ้น จนทำให้ผู้ผลิตและส่งออกของไทยยังไม่สามารถเพิ่มราคาสินค้าเพื่อสะท้อนภาระต้นทุนที่ภาคธุรกิจต้องแบกรับไว้ในปัจจุบันได้ ดัชนีความเชื่อมั่นคาดการณ์ในอีก 3 เดือนข้างหน้า คาดว่าจะ
มีทิศทางที่แย่ลง อยู่ที่ระดับ 43.8 ผู้ผลิตและส่งออกของไทยต่างมองว่าภาวะตลาดจะเริ่มชะลอตัวลง เนื่องจากสภาพอากาศที่จะปรับเปลี่ยนเข้าสู่ฤดูหนาว ส่วนความกังวลต่อจำนวนวัตถุดิบที่จะลดลงจากสภาพอากาศที่แปรปรวน เนื่องจากปริมาณน้ำเพื่อการเพาะปลูกที่อาจปรับลดลงในช่วงเวลาดังกล่าว 
          โดยปัจจัย สำคัญที่ส่งผลกระทบต่อการดำเนินงานของภาคธุรกิจอุตสาหกรรมอาหารในภาพรวมในระยะสั้น จากผลสำรวจของผู้ประกอบการส่วนใหญ่เห็นว่าอุปสรรคที่สำคัญ มาจาก ความเข้มงวดกับการตรวจสอบ IUU Fishing: ความเข้มงวดของหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องกับการเข้าตรวจสอบสินค้าประมงที่ได้มาจากการทำประมงที่ผิดกฎหมาย ขาดการรายงานและไร้การควบคุม หรือที่เรียกว่า กระทรวงอุตสาหกรรมกระทรวงอุตสาหกรรมอุตสาหกรรมอาหารไทย;IUU Fishingกระทรวงอุตสาหกรรมกระทรวงอุตสาหกรรมดัชนีความเชื่อมั่น; (Illegal Unreported and Unregulated Fishing) ทำให้ผู้ผลิตและส่งออกในกลุ่มอาหารทะเลแปรรูปต้องแสดงเอกสารที่เกี่ยวข้องเพื่อยืนยันที่มาของวัตถุดิบที่ใช้ให้ชัดเจน ซึ่งอาจทำให้ภาคธุรกิจต้องแบกรับภาระต้นทุนทั้งด้านระยะเวลาและค่าใช้จ่ายที่ต้องเสียไปรวมทั้งปัจจัยด้านระดับราคาวัตถุดิบปรับเพิ่มสูงขึ้น ความแปรปรวนของสภาพอากาศทั้งร้อนจัดและมีพายุฝน จนทำให้เกิดความเสียหายกับผลผลิตที่เก็บเกี่ยวได้และกระทบกับการเก็บรักษาสภาพให้มีอายุได้ยืนยาว ซึ่งได้ส่งผลต่อปริมาณและระดับราคาวัตถุดิบในตลาดให้อยู่ในเกณฑ์ที่สูงเพิ่มมากขึ้น
สถาบันอาหาร เผยดัชนีความเชื่อมั่นอุตฯอาหารเดือนมิ.ย. อยู่ในแดนบวกต่อเนื่อง
สถาบันอาหาร เผยดัชนีความเชื่อมั่นอุตฯอาหารเดือนมิ.ย. อยู่ในแดนบวกต่อเนื่อง
 

ข่าวอุตสาหกรรมอาหารไทย+ดัชนีความเชื่อมั่นวันนี้

สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ - ซีพีแรม และ ซีพี ฟู้ดแล็บ ลงนามความร่วมมือยกระดับการศึกษา "จัดตั้งคณะวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและการจัดการอาหาร"

สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ ซีพีแรม และ ซีพี ฟู้ดแล็บ ลงนามความร่วมมือยกระดับการศึกษา "จัดตั้งคณะวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและการจัดการอาหาร" เสริมแกร่งอุตสาหกรรมอาหารไทยยั่งยืน พร้อมผลักดันประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางอาหารของโลก สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ (PIM) ร่วมกับ บริษัท ซีพีแรม จำกัด (CPRAM) ผู้นำด้านอุตสาหกรรมอาหารพร้อมรับประทาน และ บริษัท ซีพี ฟู้ดแล็บ จำกัด ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ด้านการจัดการศึกษา "ร่วมจัดตั้งคณะวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและการจัดการอาหาร (Faculty of Food Science,

บริษัท เจดีฟู้ด จำกัด (มหาชน) หรือ JDF เป... JD FOOD เตรียม Grand Opening เปิดตัวร้านอาหาร Kindee By Chef R วันที่ 8 พฤษภาคมนี้ — บริษัท เจดีฟู้ด จำกัด (มหาชน) หรือ JDF เป็นผู้ผลิตเครื่องปรุงรสและอาห...

กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและน... วว. ให้บริการวิเคราะห์ทดสอบความสามารถลดการก่อภูมิแพ้ของสารสกัดและอาหาร — กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเ...

CPF หนุน BCG Model พัฒนา "Future Food" ร่วมขับเคลื่อนสู่ความมั่นคงทางอาหาร

บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน) หรือ ซีพีเอฟ ตอกย้ำความเป็น "ครัวของโลกที่ยั่งยืน" โชว์นวัตกรรมอาหารแห่งอนาคตที่เน้นการพัฒนาอาหารจากวัตถุดิบทางเลือก และเทคนิคใหม่ๆ เพื่อความปลอดภัย และสุขภาพที่ดีขึ้นของผู้บริโภค...

อร่อยกรุบไม่หยุด… 'ห้าดาว x เจ้าสัว' ครั้... ห้าดาว x เจ้าสัว เปิดตัวสแน็ก 'ข้าวตังมินิไก่หยอง สูตรไก่ย่างห้าดาว' — อร่อยกรุบไม่หยุด… 'ห้าดาว x เจ้าสัว' ครั้งแรกของธุรกิจแฟรนไชส์อาหารแถวหน้าของไทยกับ...

ดร.อาภากร สุปัญญา รองผู้ว่าการยุทธศาสตร์แ... วว. โชว์งานบริการนวัตกรรม/ผลิตภัณฑ์ด้านอาหารครบวงจร ในงาน Fi Asia 2022 เสริมแกร่งผู้ประกอบการ — ดร.อาภากร สุปัญญา รองผู้ว่าการยุทธศาสตร์และจัดการนวัตกรรม ...

บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน) ห... ซีพีเอฟ ชูนวัตกรรมตอบเทรนด์อาหารแห่งอนาคต ก้าวสู่การเป็น Food Tech Company แถวหน้าของโลก — บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน) หรือ ซีพีเอฟ ร่วมขับเ...