นพ.ประเวศ วะสี: กระจายทรัพยากรอย่างไม่เป็นธรรม 'บีบคั้น' ประเทศไทยทุกทาง

          "การกระจายทรัพยากรในประเทศไทยไม่เป็นธรรมอย่างมาก มากเท่าไหร่ควรวิจัยออกมาให้แน่นอน ปรากฎการณ์ สถาบันวิจัยสังคมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย:9จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ 9จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย:สถาบันวิจัยสังคมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อาจเป็นจริง คือคน สถาบันวิจัยสังคมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย% เป็นเจ้าของทรัพยากร 9จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย% ของประเทศ และคน 9จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย% ของประเทศ เหลือทรัพยากรเพียง สถาบันวิจัยสังคมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย% เท่านั้น"
          2สถาบันวิจัยสังคม สิงหาคม 2557 สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จัดประชุมวิชาการเรื่อง "งานวิจัยทางสังคมศาสตร์กับความเป็นธรรมทางสังคม" ณ ห้องประชุมจุมภฏ พันธุ์ทิพย์ ชั้น 4 อาคารประชาธิปก รำไพพรรณรี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ทั้งนี้มีการปาฐกถาศาสตราจารย์เกษม อุทยานิน ครั้งที่ 2 ในหัวข้อ "งานวิจัยทางสังคมศาสตร์เพื่อความเป็นธรรมทางสังคม" โดยนายแพทย์ประเวศ วะสี ราษฎรอาวุโส
          นพ.ประเวศ กล่าวปาฐกถาตอนหนึ่งถึงการอยู่ร่วมกันอย่างสมดุลระหว่างคนกับคน และระหว่างคนกับสิ่งแวดล้อมสำคัญที่สุด ซึ่งควรจะเป็นเป้าหมายสูงสุดของมนุษยชาติ โลกวิกฤติทุกวันนี้เป็นวิกฤติแห่งการอยู่ร่วมกัน (Living Together) เพราะไม่ได้ถือหลักการอยู่ร่วมกัน แต่ถือหลักของการแข่งขัน การแสวงหากำไรสูงสุด หากเป็นเช่นนี้โลกจะไม่หายวิกฤติถ้ามนุษยชาติไม่เปลี่ยนแปลงเป้าหมายมาเป็นการอยู่ร่วมกัน ให้เกิดความเป็นธรรมมากที่สุด
          "แม้ในหมู่สัตว์ก็มีธรรมชาติของความเป็นธรรม เพราะความเป็นธรรมทำให้การอยู่ร่วมกันมีความสงบสุข และมีพลังแห่งการยึดเหนี่ยวทางสังคมทำให้สังคมเข้มแข็ง ถ้าขาดความเป็นธรรมแล้วผู้คนจะไม่รักกัน และไม่รักส่วนรวม มีความโน้มเอียงจะเกิดพฤติกรรมเบี่ยงเบนต่างๆ ในสังคม รวมทั้งความขัดแย้งและความรุนแรง"
          นพ.ประเวศ กล่าวอีกว่า ขณะนี้การขาดความเป็นธรรมถือเป็นปัญหาใหญ่ของโลก แม้ในหมู่ประเทศที่ขึ้นชื่อว่าเจริญแล้ว และมีประชาธิปไตยที่มีวุฒิสภา เช่น สหรัฐอเมริกา และอังกฤษ ก็ยังมีความเหลื่อมล้ำแบบสุดๆ ซึ่งนักเศรษฐศาสตร์รางวัลโนเบลชาวอเมริกัน โจเซฟ สติกลิตส์ เรียกความเหลื่อมล้ำอย่างสุดๆ ในอเมริกาว่า เป็นปรากฎการณ์ 99:สถาบันวิจัยสังคม คือการพัฒนาเป็นประโยชน์ต่อคน สถาบันวิจัยสังคม % เท่านั้น คนจนไม่ได้ประโยชน์จากการพัฒนา มิหนำซ้ำกลับเลวลงไปอีก ซึ่งความเหลื่อมล้ำที่มากเกินสัมพันธ์กับการเกิดปัญหาทางสุขภาพและทางสังคมนานาชนิด รวมทั้งคำถามเกี่ยวกับประชาธิปไตย
          "ในหนังสือ Spirit Level ของ Richard Wilkinson และ Kate Pickett ยังแสดงให้เห็นว่า ประเทศที่มีความเหลื่อมล้ำมากที่สุดคือ สหรัฐอเมริกา รองลงมาคืออังกฤษ ส่วนประเทศที่มีความเหลื่อมล้ำต่ำสุดคือญี่ปุ่น รองลงมาคือประเทศกลุ่มสแกนดิเนเวียน หากสังเกตที่ผ่านมาจะเห็นว่า ประเทศที่มีความเหลื่อมล้ำมากเ ช่น อเมริกาจะเกิดการจลาจลง่าย เช่นนิวออร์ลีนส์ หลังจากโดนเฮอริเคนแคทรีนาถล่ม แต่ที่ญี่ปุ่นเมื่อเกิดสึนามิถล่มโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ที่ฟูจิชิมาสังคมอยู่ในความสงบร่วมมือกัน ไม่เกิดจลาจล"
          จากนั้น นพ.ประเวศ ได้ยกตัวอย่างการปฏิวัติฝรั่งเศสเมื่อปี สถาบันวิจัยสังคม789 ว่าเกิดการปฏิวัติขึ้นเพราะความเหลื่อมล้ำ แต่การปฏิวัติก็แก้ปัญหาเรื่องความเหลื่อมล้ำไม่ได้ ทุกวันนี้ปัญหาความเหลื่อมล้ำก็ยังมีอยู่และมากขึ้นด้วยความเหลื่อมล้ำ เป็นการขาดความเป็นธรรมที่เป็นปัญหาใหญ่ของโลก และยากต่อการแก้ไข ซึ่งความเหลื่อมล้ำมีหลายมิติ
          - ความเหลื่อมล้ำในศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
          - ความเหลื่อมล้ำทางสังคม
          - ความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจ
          - ความเหลื่อมล้ำทางอำนาจ
          เรียกได้ว่า ความเหลื่อมล้ำคนจนก็จนเกินไป อย่างในระบบความยุติธรรมที่เป็นทางการตำรวจจับ อัยการส่งฟ้อง ตุลาการตัดสิน คนจนไม่มีทางเข้าถึงความยุติธรรม เพราะจะเอาเงินและเวลาที่ไหนมาสู้คดี ลำพังทำงานเช้าจรดค่ำทุกวันก็ยังไม่พอจะกินแล้ว หรือกรณีที่ชาวนาถูกฟ้องและดำเนินคดีด้วยข้อหาบุกรุกที่ดินของตนเอง เพราะความผันผวนของอำนาจรัฐและอำนาจเงิน ชาวบ้านตาดำๆ ยากจนมีอำนาจน้อยมาก เมื่อเทียบกับอำนาจมหึมาของอุตสาหกรรมหมื่นล้านที่มีอำนาจรัฐหนุนหลังที่เข้ามาแย่งชิงทรัพยากรและปล่อยมลพิษ
"เรารู้สึกว่า การกระจายทรัพยากรในประเทศไทยไม่เป็นธรรมอย่างมาก ซึ่งมากเท่าไหร่ควรวิจัยออกมาให้แน่นอน ปรากฎการณ์ สถาบันวิจัยสังคมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย:9จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ 9จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย:สถาบันวิจัยสังคมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อาจเป็นจริงสำหรับประเทศไทยด้วย คือคน สถาบันวิจัยสังคมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย% เป็นเจ้าของทรัพยากร 9จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย% ของประเทศ และคน 9จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย% ของประเทศ เหลือทรัพยากรเพียง สถาบันวิจัยสังคมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย% เท่านั้น"
          ราษฎรอาวุโส กล่าวด้วยว่า การที่ทรัพยากรส่วนใหญ่ออกไปนอกแวดวงสาธารณะ เหลือทรัพยากรน้อยเกินไปเพื่อคนทั้งประเทศ ก่อให้เกิดความบีบคั้นนานับประการ เช่น เกิดการแย่งชิงฉ้อโกง ประชาชนที่จนเกินตกอยู่ในระบบอุปถัมภ์ ทำให้เกิดการเมืองแบบธนาธิปไตยที่มีคุณภาพต่ำ คอร์รัปชั่นสูง ทำให้ประเทศติดอยู่ในวังวนความขัดแย้ง และความรุนแรง ดังนั้นการกระจายทรัพยากรอย่างไม่เป็นธรรมจึงเป็นปัจจัยร้ายแรงที่บีบคั้นประเทศไทยทุกทาง สมควรที่สถาบันทางวิชาการทางสังคมศาสตร์จะวิจัยให้ความรู้อย่างแจ่มแจ้ง ทั้งสาเหตุ และวิธีการแก้ไข และนำความรู้ที่วิจัยไปเพิ่มอำนาจให้สังคม เพราะความเหลื่อมล้ำเป็นเรื่องที่ยากที่จะแก้ไข ไม่มีใครแก้ได้ นอกจากพลังของพลเมืองที่เข้มแข็ง และพลังพลเมืองจะเข้มแข็งก็ต่อเมื่อเป็นพลังพลเมืองที่รู้ความจริง
          ขณะเดียวกันหน้าที่ของมหาวิทยาลัยก็มีหน้าที่ในการสร้างความเป็นธรรมโดยการสนับสนุนพลังพลเมืองที่รู้ความจริง เนื่องจากสังคมไทยขาดความเป็นธรรมมานานมาก และที่ผ่านมาไม่มีเครื่องรับความเป็นธรรม ดังนั้นทุกคนจะต้องช่วยกัน
          "การสื่อสารในสาธารณะก็ต้องมีความชัดเจน ถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ ต้องพัฒนาการเชื่อมโยง เชื่อมโยงการสื่อสารทุกชนิดให้มีประสิทธิภาพ"

          ศูนย์ข่าวสารนโยบายสาธารณะ : www.isranews.org/thaireform


นพ.ประเวศ วะสี: กระจายทรัพยากรอย่างไม่เป็นธรรม 'บีบคั้น' ประเทศไทยทุกทาง

ข่าวมูลนิธิพัฒนาสื่อมวลชนแห่งประเทศไทย+จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยวันนี้

ดีอีเอส ร่วม กสทช.-สื่อ ระดมสมอง “รู้เท่าทัน-วางกฎเหล็ก Mass Shooting - สังหารหมู่ซ้ำ บนสื่อทีวี-ออนไลน์”

ดีอีเอส ร่วม กสทช. องค์กรสื่อ และทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง เปิดเวทีระดมความคิดเรื่อง "รู้เท่าทัน-วางกฎเหล็ก Mass Shooting สังหารหมู่ซ้ำ บนสื่อทีวี-ออนไลน์" วันที่ 18 ก.พ.นี้ เชิญชวนผู้สนใจลงทะเบียนเข้าร่วมรับฟังได้ฟรี นายพุทธิพงษ์ ปุณณกันต์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (ดีอีเอส) กล่าวว่า ในวันที่ 18 กุมภาพันธ์นี้ กระทรวงดิจิทัลฯ จะร่วมกับสำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) และสถาบันอิศรา มูลนิธิพัฒนาสื่อมวลชนแห่งประเทศไทย จัด

หลักสูตรผู้บริหารการสื่อสารมวลชนระดับสูงด... ภาพข่าว: บสส.8 จัดสัมมนา “มองเมืองไทย ให้ไกลกว่าได้เลือกตั้ง” ประชาชนให้ความสนใจล้นหลาม — หลักสูตรผู้บริหารการสื่อสารมวลชนระดับสูงด้านกิจการกระจายเสียงและ...

บสก.7 สถาบันอิศรา ชวนร่วมงานสัมมนาสาธารณะ “พลังโซเชียล เปลี่ยนการเมืองไทย...จริงหรือ?”

นายสุเมธ โตเกษร ประธาน ผู้อบรมหลักสูตรผู้บริหารการสื่อสารมวลชน ด้านกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ระดับกลาง (บสก.) รุ่นที่ 7 สถาบันอิศรา มูลนิธิพัฒนาสื่อมวลชนแห่งประเทศไทย เปิดเผยว่า คณะผู้เข้าอบรม บสก.7...

บสก.7 สถาบันอิศรา จัดสัมมนาสาธารณะ “พลังโซเชียล เปลี่ยนการเมืองไทย...จริงหรือ?”

เสาร์ 17 มีนาคม 2561 เวลา 09:00 น. ณ ห้องประชุมสมภพ โหตระกิตย์ (5-2) ชั้น 5 อาคารสำนักอธิการบดี มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ผู้เข้าอบรมหลักสูตรผู้บริหารการสื่อสารมวลชนด้านกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ระดับกลาง (บสก.)...

นายสุเมธ โตเกษร ประธาน ผู้อบรมหลักสูตรผู้... บสก.7 สถาบันอิศรา ชวนร่วมงานสัมมนาสาธารณะ “พลังโซเชียล เปลี่ยนการเมืองไทย...จริงหรือ?” — นายสุเมธ โตเกษร ประธาน ผู้อบรมหลักสูตรผู้บริหารการสื่อสารมวลชน ด้...

เมื่อเร็วๆ นี้ คุณเชาวนี พันธุ์พฤกษ์ ประธ... ภาพข่าว: กลุ่ม ปตท. จังหวัดระยอง จัดอบรมเชิงปฏิบัติการแก่สื่อมวลชนระยอง ประจำปี 2560 — เมื่อเร็วๆ นี้ คุณเชาวนี พันธุ์พฤกษ์ ประธานอนุกรรมการชุมชนสัมพันธ์แ...

ภาพข่าว: กลุ่มทรู มอบเงิน 500,000 บาท แก่มูลนิธิพัฒนาสื่อมวลชนแห่งประเทศไทย

มูลนิธิพัฒนาสื่อมวลชนแห่งประเทศไทย โดย นายมานิจ สุขสมจิตร ประธานมูลนิธิ (ที่ 4 จากขวา) รับมอบเงินจำนวน 500,000 บาทจาก กลุ่มทรู โดย ดร.กันทิมา กุญชร ณ อยุธยา (ที่ 4 จากซ้าย) ผู้อำนวยการกลุ่ม ด้านสื่อสารองค์กร ในโอกาสครบรอบ 60...

ฯ พณ ฯ อานันท์ ปันยารชุน อดีตนายกรัฐมนตรี... ภาพข่าว: รางวัลข่าวส่งเสริมสิทธิเด็ก — ฯ พณ ฯ อานันท์ ปันยารชุน อดีตนายกรัฐมนตรี เป็นประธานใน “พิธีมอบรางวัลข่าวและสารคดีเชิงข่าวส่งเสริมสิทธิเด็ก...

โรงแรมเซ็นจูรี่ พาร์ค เชิญร่วมงาน “พิธีมอบรางวัลข่าวและสารคดีเชิงข่าวส่งเสริมสิทธิเด็ก ประจำปี 2557 “

ปฏิทินข่าวโรงแรมเซ็นจูรี่ พาร์ค วันพฤหัสบดีที่ 27 พฤศจิกายน 2557 เวลา 15.30 น. ฯพณฯ อานันท์ ปันยารชุน อดีตนายกรัฐมนตรี เป็นประธานงาน “พิธีมอบรางวัลข่าวและสารคดีเชิงข่าวส่งเสริมสิทธิเด็ก ประจำปี 2557...