ฮอนด้าประกาศผลเยาวชนผู้ชนะเลิศ โครงการ ฮอนด้า ซูเปอร์ ไอเดีย คอนเทสต์ ประจำปี 2556 และรางวัลครูต้นแบบจินตนาการคนแรก รับโล่รางวัลพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ

           บริษัท ฮอนด้า ออโตโมบิล (ประเทศไทย) จำกัด โดยนางอรนุช พฤกษ์วัฒนานนท์ ผู้จัดการส่วนงานสนับสนุนการตลาด บริษัท ฮอนด้า ออโตโมบิล (ประเทศไทย) จำกัด ประกาศผล บริษัท ฮอนด้า ออโตโมบิล ผู้ชนะโครงการประกวดจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ บริษัท ฮอนด้า ออโตโมบิลบริษัท ฮอนด้า ออโตโมบิลสถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนาม;ฮอนด้า ซูเปอร์ ไอเดีย คอนเทสต์ บริษัท ฮอนด้า ออโตโมบิลสถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนามสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯอรนุช พฤกษ์วัฒนานนท์บริษัท ฮอนด้า ออโตโมบิลบริษัท ฮอนด้า ออโตโมบิลสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ; ภายใต้แนวคิด บริษัท ฮอนด้า ออโตโมบิลบริษัท ฮอนด้า ออโตโมบิลสถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนาม;ปลุกพลังคิดส์ พิชิตพลังฝันบริษัท ฮอนด้า ออโตโมบิลบริษัท ฮอนด้า ออโตโมบิลสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ; พร้อมด้วยผู้ชนะรางวัล "ครูต้นแบบจินตนาการ" รับโล่พระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โดยมีคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ได้แก่ รศ.ดร.ชิต เหล่าวัฒนา ผู้อำนวยการสถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนาม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (FIBO) คุณศุ-บุญเลี้ยง ศิลปิน นักคิด นักเขียนอิสระ คุณวรพล พุฒจ้อย ผู้อำนวยการฝ่ายผลิตรายการ บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน) และ คุณพลอย จริยะเวช คอลัมนิสต์ นักเขียน นักแปลชื่อดัง ร่วมตัดสินจากผลงานที่ส่งเข้าประกวดกว่า 5สถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนาม,สถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนามสถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนามสถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนาม ผลงานทั่วประเทศ 
          ทั้งนี้ รางวัลชนะเลิศ รองอันดับ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ และรองอันดับ บริษัท ฮอนด้า ออโตโมบิล ในทั้ง บริษัท ฮอนด้า ออโตโมบิล ระดับ รวมทั้งสิ้น 6 รางวัล จะได้เข้าร่วมค่ายเยาวชนไทย-ญี่ปุ่น บริษัท ฮอนด้า ออโตโมบิลบริษัท ฮอนด้า ออโตโมบิลสถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนาม;ฮอนด้า ซูเปอร์ ไอเดีย คิดส์" เพื่อแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม ความคิดสร้างสรรค์ระหว่างเยาวชนไทยและญี่ปุ่น ที่บริษัท ฮอนด้า มอเตอร์ ประเทศญี่ปุ่น 
          นางอรนุช พฤกษ์วัฒนานนท์ ผู้จัดการส่วนงานสนับสนุนการตลาด บริษัท ฮอนด้า ออโตโมบิล (ประเทศไทย) จำกัด กล่าวว่า "ฮอนด้ามุ่งหวังที่จะพัฒนาเยาวชนไทยให้มีความคิดสร้างสรรค์และกล้าแสดงออก เพื่อเติบโตเป็นนักคิด นักสร้างสรรค์ และเป็นบุคลากรคุณภาพของสังคม จึงได้จัดกิจกรรมประกวดความคิดสร้างสรรค์ "ฮอนด้า ซูเปอร์ ไอเดีย คอนเทสต์" มาอย่างต่อเนื่องถึง 9 ปีแล้ว ควบคู่ไปกับการส่งเสริมศักยภาพของครูผ่านกิจกรรม "จุดประกายครู สู่ไอเดียเด็ก" เพื่อถ่ายทอดวิธีคิด กระบวนการเรียนรู้ และแนวทางการส่งเสริมด้านความคิดสร้างสรรค์ของเด็กสำหรับผู้สอน ตลอดจนการริเริ่มจัดทำหนังสือคู่มือกระตุ้นจินตนาการ Honda Super Idea ที่นับเป็นคู่มือสร้างเสริมทักษะการเรียนรู้และความคิดสร้างสรรค์เล่มแรกของประเทศไทย นอกจากนี้ โครงการครั้งนี้ยังถือเป็นปีแรกที่ริเริ่มให้มีการจัดการประกวด "คุณครูต้นแบบจินตนาการ" ชิงโล่พระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เพื่อเชิดชูบทบาทของครูผู้มีส่วนสำคัญในการสร้างสรรค์ความคิดจินตนาการแก่เยาวชนไทย"
          สำหรับผลงานที่ผ่านเข้ารอบในปีนี้ล้วนมีความแตกต่างน่าสนใจ มีทั้งการสร้างสรรค์สิ่งประดิษฐ์เพื่อรับมือภัยธรรมชาติจนถึงการแก้ปัญหาใกล้ตัวในชีวิตประจำวัน ซึ่งเกณฑ์ที่กรรมการคัดเลือกจะพิจารณาจากการใช้ความคิดสร้างสรรค์ที่แปลกใหม่และอยู่บนพื้นฐานของตรรกะความเป็นไปได้เป็นหลัก สำหรับการประกวด "ครูต้นแบบจินตนาการ" ปีนี้นับเป็นปีแรกที่โครงการจัดให้มีการประกวดโครงงานกระตุ้นจินตนาการเยาวชนขึ้น และได้รับความสนใจจากคุณครูส่งโครงงานเข้าประกวดรวม สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนามสถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนาม ผลงาน และผู้ได้รับรางวัลชนะเลิศในปีนี้คือ โครงงานของนางสุภัทรา ศรีระวัตร ครูวิทยฐานะชำนาญการพิเศษ โรงเรียนอนุบาลแพร่
           “โครงการฯนี้จะยังคงเดินหน้าต่อไป เพื่อเป็นเวทีบ่มเพาะเมล็ดพันธุ์แห่งความฝันและจินตนาการสำหรับเยาวชนไทยต่อไปในอนาคต อีกทั้งยังตอกย้ำถึงพันธสัญญาต่ออนุชนรุ่นหลัง ควบคู่ไปกับสร้างสรรค์สิ่งดีๆ เพื่อขับเคลื่อนองค์กรไปสู่การเป็นองค์กรที่สังคมต้องการให้ดำรงอยู่ตลอดไป” นางอรนุชกล่าวในตอนท้าย
 
 
 

ข่าวสถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนาม+สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯวันนี้

โรงเรียนสาธิต มบส. ร่วมMOU 4 สถาบัน เพิ่มคนเก่งด้านวิทยาการหุ่นยนต์ ปัญญาประดิษฐ์ และโค้ดดิ้ง

อาจารย์สิริชัย เอี่ยมสอาด ผู้อำนวยการโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา (มบส.) เปิดเผยว่า เมื่อวันที่ 11 ก.ค. ที่ผ่านมาโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยาได้ลงนามความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) ภายใต้โครงการพัฒนากำลังคนโดยเพิ่มผู้มีความสามารถพิเศษระดับมัธยมศึกษา-อาชีวศึกษาและเครือข่ายด้านวิทยาการหุ่นยนต์ ปัญญาประดิษฐ์ และโค้ดดิ้ง (Robotics, AI, and Coding: RAC)กับ 4 สถาบัน ได้แก่ สถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนาม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.)

รศ. ดร.สยาม เจริญเสียง ผู้อำนวยการสถาบันว... ฟีโบ้-มจธ. เดินหน้า ส่งเสริมการเรียนรู้และสร้างกำลังคนด้าน"AI /Robotics" ป้อนตลาดแรงงาน — รศ. ดร.สยาม เจริญเสียง ผู้อำนวยการสถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนาม ...

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจ... มจธ. ส่งมอบจุดตรวจคัดกรองโรคโควิด-19 จากตู้โทรศัพท์สาธารณะ เพื่อ 6 เขต กทม. รับมือ COVID-19 — มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (มจธ.) โดยกลุ่มมดอาสา ...

"ชุดระบบหุ่นยนต์ "มดบริรักษ์" ช่วยบุคลากร... ฟีโบ้ ใช้เทคโนโลยี AI พัฒนาการทำงานข้อเข่าเทียมเพื่อคนพิการ — "ชุดระบบหุ่นยนต์ "มดบริรักษ์" ช่วยบุคลากรทางการแพทย์ในช่วงสถานการณ์โควิด-19 เป็นแรงบันดาลใจท...

แอพพลิแคด หรือ APP ได้ร่วมเป็นส่วนหนึ่งใน... แอพพลิแคด ร่วมเป็นส่วนหนึ่งส่งมอบ “มดบริรักษ์” แก่โรงพยาบาล — แอพพลิแคด หรือ APP ได้ร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการสนับสนุนการพัฒนาและจัดสร้างชุดระบบหุ่นยนต์ “มดบร...

แอพพลิแคด หรือ APP ได้ร่วมเป็นส่วนหนึ่งใน... แอพพลิแคด ร่วมเป็นส่วนหนึ่งส่งมอบ “มดบริรักษ์” แก่โรงพยาบาล — แอพพลิแคด หรือ APP ได้ร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการสนับสนุนการพัฒนาและจัดสร้างชุดระบบหุ่นยนต์ “มดบร...