จับตาการปฏิรูปโครงสร้าง ศก.จีน สศก. เผยบทวิเคราะห์ ผลกระทบไทยในฐานะคู่ค้าสำคัญ

          สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร เผย บทวิเคราะห์ผลกระทบปฏิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจจีนต่อภาคเกษตรไทย ระบุ ไทยพึ่งพาการส่งออกสินค้าและผลิตภัณฑ์ไปจีน ซึ่งมีมูลค่าส่งออกเป็นอันดับหนึ่งสัดส่วนร้อยละ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ต่อปี แต่หากมองระยะยาวจะเกิดผลดีต่อประเทศไทยในฐานะคู่ค้าที่สำคัญ
          นายเลอศักดิ์ ริ้วตระกูลไพบูลย์ เลขาธิการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร (สศก.) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยว่า ปัจจุบันจีนนับมีบทบาทสำคัญต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจของโลก เนื่องจากจีนเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในโลก ประมาณ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์,4สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตรสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ล้านคน อีกทั้งเป็นประเทศกำลังพัฒนาที่มีอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจสูงที่สุดประเทศหนึ่ง ดังนั้น การบริโภคในประเทศจีน ไม่ว่าจะมาจากภาคครัวเรือนหรือภาคเอกชนจะเป็นตัวกระตุ้นความต้องการนำเข้าสินค้าและวัตถุดิบจากภายนอกประเทศเพื่อผลิตเป็นสินค้าและบริการตอบสนองต่อความต้องการของคนในประเทศหรือผลิตเพื่อการส่งออก สร้างมูลค่าเพิ่มในสินค้า และนำเงินตราเข้าประเทศ 
          สำหรับในทศวรรษแรกหลังการเข้าร่วมองค์การการค้าโลก (WTO) จีนมีอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจเฉลี่ยสูงมากอยู่ร้อยละ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร.4สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ต่อปี ก่อนลดระดับความร้อนแรงทางเศรษฐกิจลงมาอยู่ร้อยละ 7.4 ในปี 2557 นอกจากนี้กองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) คาดว่าการขยายตัวทางเศรษฐกิจจีนอาจลดลงไปถึงร้อยละ 6.8 ในปี 2558 และเหลือร้อยละ 6.3 ในปี 2559 ซึ่งสาเหตุอาจไม่ได้มาจากภาวะเศรษฐกิจโลกที่ซบเซาเพียงอย่างเดียว แต่มาจากการปฏิรูปโครงสร้างทางเศรษฐกิจของจีนที่เริ่มรับรู้ได้ถึงผลกระทบแล้ว 
          การปฏิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจจีนจะเน้นให้ความสำคัญกับการกระจายรายได้ การจัดสรรทรัพยากรทางเศรษฐกิจไปยังกลุ่มต่างๆ อย่างเท่าเทียม ร่วมกับการปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจและรักษาสิ่งแวดล้อม เนื่องจากความไม่สอดคล้องระหว่างโครงสร้างและระบบเศรษฐกิจ อันเป็นผลมาจากยุทธศาสตร์การส่งเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรมหนักเป็นหลัก ทำให้เศรษฐกิจในระยะยาวไม่มีความมั่นคง การเติบโตไม่ต่อเนื่อง ส่งผลต่อสมดุลทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมที่ไม่ยั่งยืน นอกจากนี้ ยังให้ความสำคัญกับการสร้างมูลค่าเพิ่มในธุรกิจภาคบริการ ซึ่งมีโอกาสเติบโตได้ดีในอนาคต และขยายธุรกิจภาคบริการลงสู่เขตชนบทเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในท้องถิ่น เป็นการกระจายรายได้และลดช่องว่างระหว่างชุมชนเมืองและชนบทลง อย่างไรก็ตาม การที่จีนหันกลับมาปฏิรูปโครงสร้างภายในประเทศ จะส่งผลให้เศรษฐกิจจีนชะลอตัวลง ลดการนำเข้าสินค้าบางส่วนที่ใช้เป็นวัตถุดิบในภาคอุตสาหกรรม และหันกลับไปผลิตสินค้าตอบสนองต่อความต้องการในประเทศเองมากขึ้น 
          ดังนั้น ประเทศไทยอาจได้รับผลกระทบจากการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจจีนในครั้งนี้ เนื่องจากไทยพึ่งพาการส่งออกสินค้าและผลิตภัณฑ์ไปจีน ซึ่งมีมูลค่าส่งออกเป็นอันดับหนึ่งและคิดเป็นสัดส่วนถึงร้อยละ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ต่อปี ของมูลค่าส่งออกรวมทั้งหมด โดยในปี 2557 มูลค่าส่งออกรวมของไทยไปจีนเท่ากับ 8สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร6,438 ล้านบาท หดตัวลงร้อยละ 2.2กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา ขณะที่มูลค่าส่งออกรวมในปี 2558 (ม.ค. Rกระทรวงเกษตรและสหกรณ์กระทรวงเกษตรและสหกรณ์; เม.ย.) เท่ากับ 24กระทรวงเกษตรและสหกรณ์,896 ล้านบาท หดตัวลงต่อเนื่องร้อยละ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร.57 
          หากจำแนกการส่งออกเป็นสินค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์ และสินค้านอกการเกษตร พบว่า การส่งออกสินค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์มีมูลค่าส่งออกหดตัวลงร้อยละ 4.43 ในปี 2557 และในปี 2558 (ม.ค. Rกระทรวงเกษตรและสหกรณ์กระทรวงเกษตรและสหกรณ์; เม.ย.) หดตัวรุนแรงขึ้นต่อเนื่องถึงร้อยละ 2สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร.26 ขณะที่มูลค่าส่งออกสินค้านอกการเกษตร พบว่า หดตัวลงร้อยละ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร9 ในปี 2557 และในปี 2558 (ม.ค. Rกระทรวงเกษตรและสหกรณ์กระทรวงเกษตรและสหกรณ์; เม.ย.) หดตัวลงต่อเนื่องร้อยละ 5.สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร4 ถึงแม้การส่งออกสินค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์มีแนวโน้มหดตัวต่อเนื่อง แต่ดุลการค้าสินค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์ยังคงเกินดุลเมื่อเปรียบเทียบกับการส่งออกสินค้านอกภาคเกษตรที่ขาดดุลเสมอ แสดงให้เห็นว่าการส่งออกสินค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์ของไทยไปจีนสามารถสร้างมูลค่าเพิ่มและลดการขาดดุลการค้าให้กับภาคส่งออกของไทยได้ ทั้งนี้ ปี 2558 (มกราคม - เมษายน) การส่งออกสินค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์ ไทยนั้น ยังเกินดุล 62,62กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ล้านบาท
          ในเรื่องดังกล่าว ผลกระทบของการปฏิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจจีนที่มีต่อภาคเกษตรไทย สะท้อนให้เห็นชัดในภาคการส่งออกสินค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์ โดยเฉพาะในกลุ่มสินค้าเกษตรเพื่ออุตสาหกรรมที่ใช้เป็นวัตถุดิบในภาคการผลิตของจีน เช่น ยางธรรมชาติ แต่ในกลุ่มสินค้าเกษตรและอาหารยังคงไม่ได้รับผลกระทบจากการปฏิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจจีน และมีแนวโน้มขยายตัวอย่างต่อเนื่อง เนื่องจากจีนมองว่าสินค้าเกษตรไทยมีคุณภาพและได้มาตรฐาน ถึงแม้บางช่วงอาจชะลอการบริโภคอยู่บ้างตามภาวะเศรษฐกิจจีนในขณะนั้น แต่คาดว่าเป็นช่วงระยะเวลาสั้นๆ และหากมองในระยะยาว การปฏิรูปของจีนจะทำให้การเติบโตทางเศรษฐกิจมีเสถียรภาพและมีคุณภาพมากขึ้นในอนาคต ซึ่งเป็นผลดีต่อประเทศไทยในฐานะคู่ค้าที่สำคัญ 
          ดังนั้น ภาคเกษตรไทยจำเป็นต้องปรับตัวเพื่อรองรับกับการปฏิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจจีน ศึกษาความต้องการสินค้าเกษตรเพื่อใช้เป็นวัตถุดิบในภาคอุตสาหกรรมใหม่หลังปรับโครงสร้างการผลิต สร้างมูลค่าเพิ่มในตัวสินค้าเกษตรและอาหารโดยเฉพาะสินค้าเกษตรแปรรูป สร้างความภักดีในตราสินค้าเกษตรไทย (Brand loyalty) ให้เกิดขึ้นในกลุ่มผู้บริโภคชาวจีน เข้าถึงพฤติกรรมของผู้บริโภคชาวจีนในทุกกลุ่ม ทุกเพศ ทุกวัย ส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจการเกษตรด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ประชาสัมพันธ์สินค้าเกษตรและอาหารไทยให้เป็นที่รู้จักมากขึ้น ส่งเสริมความร่วมมือด้านการค้าและการลงทุนทางเศรษฐกิจให้มีความต่อเนื่องในระยะยาว พัฒนาระบบขนส่งโลจิสติกส์ระหว่างไทยกับจีนให้มีประสิทธิภาพ ส่งเสริมและพัฒนาตลาดทางเลือกสินค้าเกษตร เช่น เกษตรอินทรีย์ เกษตรปลอดสารพิษ เกษตร สีเขียว เป็นต้น
 
           ตารางมูลค่าสินค้าส่งออก สินค้านำเข้า และดุลการค้า ไทย – จีน ปี 2556 – 2558

สินค้า

2556

2557

2557

2558

(ม.ค.-เม.ย.)

(ม.ค.-เม.ย.)

1. สินค้าส่งออกทั้งหมด

824,672

806,438

270,497

241,896

   1.1 สินค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์

276,230

263,980

98,405

78,471

      - สินค้าเกษตรและอาหาร

97,101

123,314

40,732

43,436

      - สินค้าเกษตรเพื่ออุตสาหกรรม

179,129

140,666

57,673

35,034

   1.2 สินค้านอกการเกษตร

548,443

542,458

172,092

163,425

2. สินค้านำเข้าทั้งหมด

1,155,296

1,251,528

382,977

426,614

   2.1 สินค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์

43,414

48,367

14,385

15,849

      - สินค้าเกษตรและอาหาร

43,165

48,079

14,309

15,765

      - สินค้าเกษตรเพื่ออุตสาหกรรม

249

288

76

84

   2.2 สินค้านอกการเกษตร

1,111,882

1,203,161

368,593

410,765

3. ดุลการค้า

-330,624

-445,091

-112,481

-184,719

   3.1 สินค้าเกษตรและผลิตภัณฑ์

232,815

215,613

84,020

62,621

      - สินค้าเกษตรและอาหาร

53,936

75,235

26,423

27,671

      - สินค้าเกษตรเพื่ออุตสาหกรรม

178,879

140,378

57,597

34,950

   3.2 สินค้านอกการเกษตร

-563,439

-660,704

-196,501

-247,340

ที่มา: ศูนย์สารสนเทศการเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร โดยความร่วมมือจากกรมศุลกากร
 

ข่าวสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร+กระทรวงเกษตรและสหกรณ์วันนี้

ไทย - จีน จับมือสร้างความสัมพันธ์ พร้อมเปิดตลาดสินค้าด้านการเกษตร

ร้อยเอก ธรรมนัส พรหมเผ่า รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เปิดเผยภายหลังหารือร่วมกับ นายหานจื้อเฉียง เอกอัครราชทูตสาธารณรัฐประชาชนจีนประจำประเทศไทย (H.E. Mr. Han Zhiqiang) โดยมี ศาสตราจารย์ นฤมล ภิญโญสินวัฒน์ ที่ปรึกษานายกรัฐมนตรี นายเศรษฐเกียรติ กระจ่างวงษ์ รองปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ นายระพีภัทร์ จันทรศรีวงศ์ อธิบดีกรมกรมวิชาการเกษตร นายสมชวน รัตนมังคลานนท์ อธิบดีกรมปศุสัตว์ นายฉันทานนท์ วรรณเขจร เลขาธิการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร นายปณิธาน มีไชยโย ผู้อำนวยการองค์การตลาดเพื่อเกษตรกร ผู้

นางธัญธิตา บุญญมณีกุล รองเลขาธิการสำนักงา... โครงการส่งเสริมการแปรรูปสินค้าเกษตรในระดับชุมชนสร้างอาชีพมั่นคง ต่อยอดมูลค่าผลิตผลทางการเกษตร — นางธัญธิตา บุญญมณีกุล รองเลขาธิการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร...

นางสาวกาญจนา ขวัญเมือง รองเลขาธิการสำนักง... ไทยส่งเสริมบทบาทสตรีในภาคเกษตร ผลักดันความมั่นคงด้านอาหารและโภชนาการ ในเวที CFS ครั้งที่ 51 — นางสาวกาญจนา ขวัญเมือง รองเลขาธิการสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ...

สศก. ติดตามโครงการอ่างเก็บน้ำนฤบดินทรจินด... สศก. ติดตามโครงการอ่างเก็บน้ำนฤบดินทรจินดา — สศก. ติดตามโครงการอ่างเก็บน้ำนฤบดินทรจินดา แหล่งน้ำขนาดใหญ่ เพื่อเกษตรกรรม และระบบนิเวศครบครัน นายฉันทานนท์...

นายฉันทานนท์ วรรณเขจร เลขาธิการสำนักงานเศ... สศก. ขึ้นรับรางวัล 'Excellent Open Data Hub' หน่วยงานเปิดเผยชุดข้อมูลเปิดภาครัฐ โครงการ DIGI DATA AWARDS — นายฉันทานนท์ วรรณเขจร เลขาธิการสำนักงานเศรษฐกิจ...

หุ้นนายหน้าประกันภัยต่อรายแรกของไทย…อนาคต... ผู้บริหาร TQR ขยันสุดๆ — หุ้นนายหน้าประกันภัยต่อรายแรกของไทย…อนาคตสดใส ต้องยกให้กับ บมจ.ที คิว อาร์ (TQR) เดินหน้าคิดค้นผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ อยู่ตลอดเวลา...

ดร.อัญชลิน พรรณนิภา ประธานกรรมการ บริษัท ... TQM ร่วมมอบประกันอุบัติแก่เกษตรกรไทย ในโครงการ "คุ้มครองอุบัติเหตุ เซฟเกษตรอาสา" — ดร.อัญชลิน พรรณนิภา ประธานกรรมการ บริษัท ทีคิวเอ็ม คอร์ปอเรชั่น จำกัด (...