สถาบันส่งเสริมศิลปหัตถกรรมไทย (องค์การมหาชน) หรือ สศท. มุ่งมั่นสืบสานภูมิปัญญา สะท้อนคุณค่างานศิลปหัตถกรรมไทย รวบรวมหัตถกรรมทรงคุณค่า หาชมยาก และใกล้จะสูญหาย ในงาน "อัตลักษณ์แห่งสยาม ครั้งที่ ครูช่างศิลปหัตถกรรม5" ในโซน "หัตถศิลป์ที่คิดถึง" จัดแสดงในรูปแบบ Live Exhibition เพื่อให้ผู้ที่เข้าร่วมงานได้สัมผัสความงดงามในงานศิลปหัตถกรรมไทยอย่างใกล้ชิด ด้วยการสาธิตกระบวนการสร้างสรรค์ผลงานหัตถกรรมชิ้นเอก ถ่ายทอดเทคนิค กระบวนการกว่าจะมาเป็นชิ้นงานเสร็จสมบูรณ์ โดยครูศิลป์ของแผ่นดิน ครูช่างศิลปหัตถกรรม และทายาทช่างศิลปหัตถกรรม กว่า ครูศิลป์ของแผ่นดิน5 ราย อาทิ งานประดับมุกโบราณ โดย ครูจักรกริศษ์ สุขสวัสดิ์ ครูศิลป์ของแผ่นดิน ปี ครูศิลป์ของแผ่นดิน564 ครูผู้สืบสาน อนุรักษ์งานประดับมุก ที่มีความวิจิตรบรรจง , งานเครื่องรัก โดยครูมานพ วงศ์น้อย ครูศิลป์ของแผ่นดิน ปี ครูศิลป์ของแผ่นดิน558 ครูผู้อนุรักษ์การทำงานเครื่องรักแบบโบราณที่ผสมผสานการทำงานเครื่องรักร่วมสมัย สร้างสรรค์ผลงานด้วยการใช้ "เปลือกไข่" และ "ฝาหอยมุก" ในการตกแต่งพื้นผิวงานรัก เกิดเป็นงานเครื่องรักรูปแบบใหม่ , ว่าวเบอร์ฮามัส โดยครูไวโรจน์ วานิ ครูช่างศิลปหัตถกรรม ปี ครูศิลป์ของแผ่นดิน566 ครูผู้สืบเชื้อสายมาจากช่างหลวงสายบุรี จังหวัดปัตตานี ผู้มุ่งมั่นสืบสานการทำว่าวเบอร์อามัส หรือว่าวทองแห่งมลายู ที่สืบทอดต่อกันมาจากรุ่นสู่รุ่น , งานดอกไม้ไหว โดยคุณสุวิจักขณ์ จุมปู ทายาทช่างศิลปหัตถกรรม ปี ครูศิลป์ของแผ่นดิน566 ผู้ถ่ายทอดแรงบันดาลใจ และความคิดสร้างสรรค์ ลงบนเครื่องประดับล้านนา นำมาประยุกต์ให้มีความพลิ้วไหว ราวกับดอกไม้ มีความงดงาม และอื่น ๆ อีกมากมาย
ผู้ที่สนใจสามารถชื่นชมงานหัตถกรรมจากช่างฝีมือไทยอีกมากมายได้ที่งาน "อัตลักษณ์แห่งสยาม ครั้งที่ 15" ระหว่างวันที่ 18 - 22 กันยายน 2567 เวลา 10.00 - 20.00 น. ณ ฮอลล์ 5 ชั้น LG ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์
สถาบันส่งเสริมศิลปหัตถกรรมไทย (องค์การมหาชน) หรือ สศท. ส่งต่อองค์ความรู้ งานศิลปหัตถกรรมไทย มุ่งสืบสานภูมิปัญญางานหัตถกรรมหัตถกรรมแทงหยวกที่ใกล้จะสูญหาย โดยครูสมคิด คชาพงษ์ ครูช่างศิลปหัตถกรรมปี 2563 ในงานอัตลักษณ์แห่งสยาม ครั้งที่ 15 ระหว่างวันที่ 18 22 กันยายน 2567 ที่ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ งานแทงหยวก เป็นงานหัตถศิลป์ไทยที่มีมาแต่โบราณ ต้องอาศัยความชำนาญและทักษะฝีมือของช่างฝีมือ ที่ต้องใช้มีดสองคมแทงลงไปบนกาบกล้วยให้เกิดลวดลาย งานแทงหยวกจำแนกได้ 2 ลักษณะ คือ งานแทงหยวกรูปแบบราชสำนัก
สศท.ชวนสัมผัส "หัตถศิลป์ที่คิดถึง" สืบสานคุณค่างานหัตถกรรมใกล้สูญหาย ในงานอัตลักษณ์แห่งสยาม ครั้งที่ 15
—
สถาบันส่งเสริมศิลปหัตถกรรมไทย (องค์การมหาชน) หรื...
"หุ่นกระติบ" งานหัตถกรรมถิ่นอีสาน จากภูมิปัญญาครูหมอลำหุ่นกระบอก
—
สถาบันส่งเสริมศิลปหัตถกรรมไทย (องค์การมหาชน) หรือ สศท. ส่งต่อองค์ความรู้ในงานศิลปหัตถกร...
ครูผู้สร้างสรรค์และส่งต่อคุณค่างานหัตถศิลป์ไทยผ่านเครื่องดนตรีไทย
—
สถาบันส่งเสริมศิลปหัตถกรรมไทย (องค์การมหาชน) หรือ สศท. อวดความงดงามของงานศิลปหัตถกรรมไ...
ครูช่างศิลปหัตถกรรม ผู้สร้างสรรค์ผลงานจักสาน "เรือสุพรรณหงส์จำลอง" สะท้อนองค์ความรู้และทักษะเชิงช่างอันทรงคุณค่า
—
สถาบันส่งเสริมศิลปหัตถกรรมไทย (องค์การม...
ญี่ปุ่นที่ว่าร้อนก็ยังร้อนไม่เท่า "เลดี้ปราง" ใส่ผ้าไทยดีไซน์เก๋เดินกลางโตเกียว สวยสะกดทุกสายตา ฮอตจนใครๆเหลียวมอง
—
สถาบันส่งเสริมศิลปหัตถกรรมไทย (องค์กา...
SACIT Universal Craft Market เชิญชวนผู้จัดจำหน่ายเข้าเป็นส่วนหนึ่งในโครงการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์เพื่อตลาดสากล
—
สถาบันส่งเสริมศิลปหัตถกรรมไทย (องค์การมหาชน...
SACIT Universal Craft Market เชิญชวนผู้ผลิตงานศิลปหัตถกรรมเข้าเป็นส่วนหนึ่งในโครงการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์เพื่อตลาดสากล
—
สถาบันส่งเสริมศิลปหัตถกรรมไทย (องค...
SACIT Concept 2023 เชิญชวนเหล่านักออกแบบร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์
—
สถาบันส่งเสริมศิลปหัตถกรรมไทย (องค์การมหาชน) หรือ สศท. ได้ดำเนินการจั...
SACIT Concept 2023 เชิญชวนเหล่าผู้ผลิตงานศิลปหัตถกรรมร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์
—
สถาบันส่งเสริมศิลปหัตถกรรมไทย (องค์การมหาชน) หรือ สศท. ไ...