ทีมพืชอวกาศ ม.พะเยา รับมอบ ต้นราชพฤกษ์อวกาศ จากโครงการราชพฤกษ์อวกาศ Asian herb in space

ทีมพืชอวกาศ คณะวิทยาศาสตร์ และ โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยพะเยา นำโดย รศ.ปรียานันท์ แสนโภชน์ ผู้อำนวยการโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยพะเยา และ ดร.ชัชวาล วงค์ชัย อาจารย์คณะวิทยาศาสตร์ รับมอบ ต้นราชพฤกษ์อวกาศ จาก โครงการ ราชพฤกษ์อวกาศ Asian herb in space ของ สวทช. ร่วมกับ ภาควิชาพฤกษศาสตร์ ม. มหิดล และ JAXA องค์การสำรวจอวกาศญี่ปุ่น และเข้าร่วมการประชุมวิชาการ สวทช. ประจำปี การประชุมวิชาการ566 (NSTDA Annual Conference: NACการประชุมวิชาการองค์การสำรวจอวกาศญี่ปุ่นการประชุมวิชาการคณะวิทยาศาสตร์) ภายใต้แนวคิด "สวทช. : ขุมพลังหลัก วทน. เร่งการขับเคลื่อนโมเดลเศรษฐกิจ BCG สู่ความยั่งยืน" (NSTDA: STI powerhouse to drive BCG economy for Thailand's sustainable development) พร้อมเป็นตัวแทนเข้ารับต้นราชพฤกษ์อวกาศ จากสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ซึ่งเป็นต้นไม้ที่มีความหมายต่อคนไทย ในฐานะ 'ดอกไม้ประจำชาติ' ปลูกโดยการใช้เมล็ดที่ผ่านการท่องอวกาศนาน 7 เดือน ในโครงการ Asian Herb in Space 'ราชพฤกษ์อวกาศ' ซึ่งเป็นความร่วมมือระหว่าง สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) องค์การสำรวจอวกาศญี่ปุ่น (JAXA) วิชาพฤกษศาสตร์, วิชาชีวนวัฒกรรม คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิด และหน่วยงานพันธมิตร เมื่อวันที่ คณะวิทยาศาสตร์องค์การสำรวจอวกาศญี่ปุ่น มีนาคม การประชุมวิชาการ566 ณ ห้องประชุม CC-คณะวิทยาศาสตร์องค์การสำรวจอวกาศญี่ปุ่น8 อาคารศูนย์ประชุมอุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย จ.ปทุมธานี

ทีมพืชอวกาศ ม.พะเยา รับมอบ ต้นราชพฤกษ์อวกาศ จากโครงการราชพฤกษ์อวกาศ Asian herb in space

การรับต้นราชพฤกษ์อวกาศในครั้งนี้ เป็นการส่งต่อความรู้ให้นักเรียนโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยพะเยา ได้ศึกษาการเจริญเติบโตของพืชที่สามารถเจริญเติบโตได้บนอวกาศเพื่อวิจัยเปรียบเทียบกับต้นราชพฤกษ์ที่ใช้เมล็ดปลูกบนพื้นโลกสามารถสร้างแรงบันดาลใจและเป็นจุดเริ่มต้นที่ดีของการพัฒนากำลังคนด้านวิทยาศาสตร์อวกาศ ซึ่งเป็นหนึ่งในการวิจัยขั้นแนวหน้าสำหรับอนาคตของมนุษยชาติ ทางสาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ ภายใต้ความร่วมมือของ โครงการ วมว. และรายวิชา การปลูกพืชอวกาศ จะได้ดำเนินการศึกษาเปรียบเทียบ ด้านการเจริญเติบโต สรีวิทยาพืช เซลล์วิทยา และพันธุกรรม เพื่อติดตามอย่างต่อเนื่องไม่น้อยกว่า 2 ปี ทั้งนี้ เพื่อส่งเสริมกิจกรรมด้านความหลากหลายทางชีวภาพ สวนพฤกษศาสตร์ และการพัฒนาปรับปรุงพันธุ์ไม้ประดับต่อไป ทีมพืชอวกาศ ม.พะเยา รับมอบ ต้นราชพฤกษ์อวกาศ จากโครงการราชพฤกษ์อวกาศ Asian herb in space


ข่าวองค์การสำรวจอวกาศญี่ปุ่น+มหาวิทยาลัยพะเยาวันนี้

ทีมพืชอวกาศ ม.พะเยา รับมอบ ต้นราชพฤกษ์อวกาศ จากโครงการราชพฤกษ์อวกาศ Asian herb in space

ทีมพืชอวกาศ คณะวิทยาศาสตร์ และ โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยพะเยา นำโดย รศ.ปรียานันท์ แสนโภชน์ ผู้อำนวยการโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยพะเยา และ ดร.ชัชวาล วงค์ชัย อาจารย์คณะวิทยาศาสตร์ รับมอบ ต้นราชพฤกษ์อวกาศ จาก โครงการ ราชพฤกษ์อวกาศ Asian herb in space ของ สวทช. ร่วมกับ ภาควิชาพฤกษศาสตร์ ม. มหิดล และ JAXA องค์การสำรวจอวกาศญี่ปุ่น และเข้าร่วมการประชุมวิชาการ สวทช. ประจำปี 2566 (NSTDA Annual Conference: NAC2023) ภายใต้แนวคิด "สวทช. : ขุมพลังหลัก วทน. เร่งการขับเคลื่อนโมเดลเศรษฐกิจ BCG สู่ความยั่งยืน"

หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการเพิ่มความสา... บพข. - มจพ เตรียมปล่อยดาวเทียมแนคแซท 2 (KNACKSAT-2) ฝีมือเด็กไทยขึ้นสู่วงโคจร — หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของประเทศ (บพข.) ...

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนื... มจพ. ส่งดาวเทียมแนคแซท 2 แก่สถานีอวกาศนานาชาติ (ISS) พร้อมปล่อยเข้าสู่วงโคจร ปี'67 — มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) จัดแถลงข่าวดาวเทียม...

ณ ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ : กระทร... สุดยอดไอเดียเด็กไทย!มนุษย์อวกาศญี่ปุ่นเลือกไปทดลองบนสถานีอวกาศนานาชาติ — ณ ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ : กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดย สำนักงานพั...

สวทช. และ สทอภ. ร่วมกับ แจ็กซ่า เฟ้นหาสุด... เฟ้นหาสุดยอดไอเดียเยาวชนไทยส่งไปทดลองในอวกาศ — สวทช. และ สทอภ. ร่วมกับ แจ็กซ่า เฟ้นหาสุดยอดไอเดียเด็กไทยส่งให้มนุษย์อวกาศทำการทดลองในสภาวะไร้แรงโน...

4 เด็กไทย วิจัย “สาหร่าย” บนเที่ยวบินไร้น้ำหนัก

“ถ้าสาหร่ายสามารถวิ่งเข้าหาแสงในสภาวะไร้แรงโน้มถ่วงได้ ก็มีโอกาสเลี้ยงส่าหร่ายในอวกาศ เพื่อใช้เป็นอาหารและผลิตเชื้อเพลิงในสถานีอวกาศได้” สมมติฐานสุดเจ๋งของ 4 เยาวชนไทย ที่องค์การสำรวจอวกาศญี่ปุ่น (Japan Aerospace Exploration Agency : JAXA) คัดเลือก...

ยุววิจัย LESA ตะลุย JAXA องค์การสำรวจอวกาศญี่ปุ่น

“มีเด็กหลายคนที่เคยวาดฝันว่าอนาคตอยากเป็นนักบินอวกาศ แต่จะมีเด็กสักกี่คนที่ก้าวไปถึงความฝันนั้น” หากแต่ว่าเมื่อเร็วๆนี้สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย(สกว.)และสำนักงานคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ(กทช.) ได้สนับสนุนให้คณะยุววิจัยดาราศาสตร์...

ญี่ปุ่นประสบผลสำเร็จในการทดสอบเครื่องบินต้นแบบความเร็วเหนือเสียง

เมื่อ ๑๐ ตุลาคม ๒๕๔๘ องค์การสำรวจอวกาศญี่ปุ่น เปิดเผยว่า ญี่ปุ่นประสบความสำเร็จ ในการทดสอบเครื่องบินต้นแบบความเร็วเหนือเสียง สามารถบรรทุกผู้โดยสารได้ ๓๐๐ คน มีเสียงและ ก่อมลภาวะน้อยกว่าเครื่องบินคองคอร์ด ซึ่งก่อนหน้านี้การทดสอบ...