ยุคนี้ถือได้ว่าเป็นยุคดิจิตอล การสื่อสาร การทำงาน หรือการค้นหาข้อมูลสามารถทำได้ง่ายเพียงปลายนิ้ว จนลืมคิดไปว่าการใช้เวลาอยู่กับหน้าจอเป็นระยะเวลานานๆ อาจส่งผลให้การเกิดอาการนิ้วล็อกได้ อาการที่ว่านี้มีลักษณะอย่างไร และรักษานิ้วล็อกมีวิธีการอย่างไร ไปติดตามกัน
สังเกตด่วน อาการแบบนี้นิ้วล็อกแน่นอน
พฤติกรรมเสี่ยงที่ทำให้เกิดนิ้วล็อก
พฤติกรรมเสี่ยงที่ทำให้เกิดนิ้วล็อก มักเกิดจากการใช้มือหรือนิ้วในการทำกิจกรรมอย่างหนักเป็นระยะเวลานาน ได้แก่ การงอนิ้ว เกร็งนิ้ว เหยียดนิ้ว จากกิจกรรมการกดแป้นพิมพ์ เล่นเกมส์ การหิ้วของหนัก รวมถึงการใช้มือกำ บีบ หรือยกของหนักเป็นประจำ เป็นต้น
วิธีรักษาอาการนิ้วล็อก
การักษานิ้วล็อก สามารถทำได้ดังนี้
นิ้วล็อกสามารถเกิดได้กับผู้ที่อยู่ในวัยทำงาน และผู้สูงอายุ รวมถึงผู้ที่ต้องใช้นิ้วในการทำงานอย่างหนัก และแม้ว่าโรคนิ้วล็อกจะไม่ใช่โรคร้ายแรง แต่การป้องกันและการปรับพฤติกรรมการใช้นิ้วให้เหมาะสมคือสิ่งที่ดีที่สุด เพื่อที่จะได้ไม่ต้องทรมานจนต้องเข้ารับการรักษานิ้วล็อกในภายหลัง
การรักษานิ้วล็อกสามารถทำได้ตั้งแต่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไปจนถึงการผ่าตัดซึ่งต้องอาศัยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์เฉพาะด้าน เพื่อการวินิจฉัยและการรักษาได้อย่างตรงจุด และโรงพยาบาลที่มีเครื่องมือ พร้อมด้วยเทคโนโลยีอันทันสมัย ขอแนะนำ KDMS โรงพยาบาลกระดูกและข้อ ข้อดีมีสุข โรงพยาบาลเฉพาะทางที่ได้รวบรวมแพทย์ในกลุ่มศัลยแพทย์กระดูก และแพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟูเข้าไว้ด้วยกัน เพื่อให้คนไข้ได้รับการรักษาอย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถกลับไปใช้ชีวิตในแบบที่ตัวเองต้องการได้ พร้อมมอบการบริการด้วยความจริงใจและมืออาชีพอย่างแน่นอน.
ติดต่อเราได้ที่ facebook.com/newswit