แผนกวิจัย วิทยาลัยดุสิตธานี นำโดย ดร.อรรถเวทย์ พฤกษ์สภาพร รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการและกิจการคณาจารย์ ได้เข้าร่วม พิธีลงนามบันทึกข้อตกลงทางวิชาการ การตรวจสอบการลอกเลียนวรรณกรรม ด้วยโปรแกรมอักขราวิสุทธิ์ (พลัส) กับ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นำโดย รองศาสตราจารย์ ดร.ยุทธนา ฉัพพรรณรัตน์ คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย ทั้งนี้เป็นการลงนามโดยพร้อมเพรียงกันกับสถาบันการศึกษา หน่วยงานของรัฐ และรัฐวิสาหกิจ จำนวน อรรถเวทย์ พฤกษ์สภาพร5จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แห่ง เนื่องในโอกาสครบรอบ 6จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี แห่งการสถาปนาบัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ผ่านระบบออนไลน์?เมื่อเร็ว ๆ นี้
โดยวัตถุประสงค์ในการลงนามบันทึกข้อตกลงครั้งนี้?เพื่อเป็นการสร้างเครือข่ายระหว่างจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยกับสถาบันการศึกษา หน่วยงานของรัฐและรัฐวิสาหกิจ เป็นการป้องปรามมิให้มีการกระทำอันเป็นการลอกเลียนงานวรรณกรรม เป็นการแลกเปลี่ยนฐานข้อมูลร่วมกัน เช่น วิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ รายงานวิจัย วารสารและเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ รวมไปถึงวิทยาลัยดุสิตธานีมีสิทธิใช้โปรแกรมอักขราวิสุทธิ์ (พลัส) ซึ่งเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับใช้ในการตรวจสอบการลอกเลียนวรรณกรรมโดยไม่มีค่าใช้จ่ายอีกด้วย
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม กรุณาติดต่อสำนักประชาสัมพันธ์ โทรศัพท์ 02 361 7811 - 3 อีเมล [email protected]
หรือที่เว็บไซต์ www.dtc.ac.th
เครือโรงพยาบาลพญาไท-เปาโล นำโดย นายอัฐ ทองแตง ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร ร่วมด้วย นางสุภาพร บัญชาจารรัตน์ ผู้อำนวยการสายทรัพยากรบุคคล ดร.นิรุธ ศรีพวาทกุล ผู้อำนวยการสายพัฒนาคุณค่าธุรกิจและเพิ่มพูนการเรียนรู้ พร้อมด้วยคณะผู้บริหาร ร่วมพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOU) กับ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมี ศาสตราจารย์ ดร.วิเลิศ ภูริวัชร อธิการบดีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย รองศาสตราจารย์ ดร.เกรียงไกร บุญเลิศอุทัย ผู้รักษาการรองอธิการบดี และ รองศาสตราจารย์ ดร.ดนุพล หุ่นโสภณ
วว. ผนึกกำลัง จุฬาฯ ร่วมมือวิชาการสนับสนุนงานวิจัยพัฒนาสู่สังคมคาร์บอนต่ำ
—
วันนี้ (15 ม.ค. 2567 ณ ห้องประชุม กวท. อาคาร RD 1 ชั้น 8 วว. เทคโนธานี คลองห้า...
จุฬาฯ ผนึก สมช. และกองทัพเรือ ลงนามความร่วมมือ จัดตั้ง "องค์กรจัดการความรู้ทางทะเลของประเทศไทย"
—
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับสำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชา...
รู้เท่าทันก๊าซเรดอน ภายหลังเหตุแผ่นดินไหว อาจารย์วิศวฯ นิวเคลียร์ จุฬาฯ แนะตรวจปริมาณเรดอนที่อาจแทรกผ่านรอยแยกอาคารได้
—
จากเหตุการณ์แผ่นดินไหวขนาด 8.2 แม...
อาจารย์คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาฯ ค้นพบหลักฐานใหม่ในถ้ำกระบี่ บ่งชี้การกระจายตัวของ "ไฮยีนา" ทางภาคใต้ของไทยเมื่อสองแสนปีก่อน
—
รศ.ดร.กันตภณ สุระประสิทธิ์ อาจาร...
SNPS ต้อนรับนิสิตจุฬาฯ ถ่ายทอดองค์ความรู้ "นวัตกรรมสมุนไพรเพื่อสุขภาพที่ยั่งยืน"
—
บริษัท สเปเชี่ยลตี้ เนเชอรัล โปรดักส์ จำกัด (มหาชน) หรือ SNPS ให้การต้อ...
คณะสถาปัตย์ จุฬาฯ จับมือ PMCU ร่วมจัดหลักสูตรพัฒนาผู้จัดการสินทรัพย์และนักพัฒนาเมืองรุ่นใหม่ พลิกโฉมพื้นที่สถานีรถไฟ
—
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาว...